นิโคลัส โคเปอร์นิคัส Nicolaus Copernicus

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ศาสนาคริสต์111
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
เคปเลอร์ในวัยเยาว์ เกิดในครอบครัวที่ยากจนพอสมควร เขาเป็นเด็กใฝ่รู้ใฝ่เรียนจนได้รับทุนไปเรียนต่อที่ Tubingen University และได้เขาศึกษาในวิชาดาราศาสตร์และ.
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
Galileo Galilei.
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ประวัติของ ชาลส์ ดาร์วิน และ ผลงาน.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
World Time อาจารย์สอง Satit UP
Ernest Rutherford.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
“Thailand’s Sustainable Business” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท
นีลส์ บอร์ : Niels Bohr นักฟิสิกส์ที่เปิดเผยความลับของอะตอม
โยฮันเนส เคปเลอร์.
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
GEOGRAPHY OF ASIA TAWEESAK KUNYOCHAI อาจารย์สอง Satit UP
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
หลุยส์ ปาสเตอร์.
นางสาววิภัทรา จันทร์แดง เลขที่ 31 ม.4.2
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
กำเนิดโลก ตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงานมหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเย็นตัวลง.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
John Dalton.
ศาสนาเชน Jainism.
ยิ้มก่อนเรียน.
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Khuanchai Kamontheptawin no.19 m4.1
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นิโคลัส โคเปอร์นิคัส Nicolaus Copernicus จัดทำโดย เด็กหญิง นวินดา ละอองเอี่ยม ม.4.2 เลขที่8

 โคเปอร์นิคัสเป็นนักดาราศาสตร์ชาวโปแลนด์ ที่อาจจะมีชื่อเสียงไม่โด่งดังเท่ากับนักดาราศาสตร์อย่างกาลิเลโอ แต่ผลงาน และทฤษฎีต่าง ๆ ของเขา เช่น ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยะจักรวาล โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์และหมุนรอบตัวเอง เป็นต้น ก็ล้วนแล้วแต่เป็นทฤษฎีที่ถูกต้องและบุกเบิกแนวทางให้กับนักดาราศาสตร์รุ่นต่อมาอย่างกาลิเลโอ และก็ถือได้ว่า โคเปอร์นิคัสเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยจักรวาลและโลกมีสัณฐานเป็นทรงกลม นอกจาก นี้เขายังได้ตั้งทฤษฎีเพื่ออธิบายเกี่ยวกับฤดูกาล กลางวันและกลางคืนได้อย่างถูกต้อง

โคเปอร์นิคัสเกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค. ศ โคเปอร์นิคัสเกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 ที่เมืองตูรัน ประเทศโปแลนด์ บิดาของเขาเป็นพ่อค้าผู้มั่งคั่งนามว่า นิโคลัส คอปเปอร์นิงค์ (Nicolaus Koppernigk) ส่วนมารดาของเขาชื่อบาร์บารา แวคเซนโรด (Barbara Waczenrode) ต่อมาเมื่อเขาอายุได้ 10 ปี เท่านั้น บิดาของเขาก็เสียชีวิต เขาจึงต้องอยู่ในความอุปการะของลุง ซึ่งเป็นพระในตำแหน่งบิชอบ แห่งเออร์มแลนด์ ชื่อว่า ลูคัส แวคเซนโรด (Lucas Waczenrode) ลุงของเขาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในชีวิตของเขาอย่างมาก เพราะเป็นอาจารย์คนแรก จึงทำให้เขามีความสนใจเกี่ยวกับศาสนาอย่างจริงจัง แต่ความคิดข้อนี้ก็ล้มเลิกไปในภายหลัง เมื่อเขามีความสนใจวิชาแพทย์มากกว่า และได้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยแห่งเมืองคราโคว (University of Cracow)

ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้เขามีโอกาสได้ศึกษาวิชาต่าง ๆ การที่เขามีโอกาสได้ศึกษาวิชาเกี่ยวกับดาราศาสตร์ ทำให้เขาเปลี่ยนแนวความคิดที่จะเรียนต่อแพทย์ ไปเรียนต่อเกี่ยวกับดาราศาสตร์แทน แต่ยังไม่ทันสำเร็จวิชาดาราศาสตร์ เขาก็ย้ายไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยในเมืองโบโลญญา (University of Bologna) ในประเทศอิตาลีและไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเฟอร์รารา (Ferrara University) และสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในวิชากฎหมายจาก มหาวิทยาลัยแห่งนี้ หลังจากสำเร็จการศึกษาโคเปอร์นิคัสได้เดินทางกลับบ้าน แต่เมื่อลุงเขารู้ว่าเขาไม่ได้เรียนแพทย์ก็ไม่พอใจอย่างมาก เพื่อเป็นการเอาใจลุง โคเปอร์นิคัสจึงต้องกลับไปศึกษาต่อวิชาแพทย์อีกครั้งหนึ่งที่มหาวิทยาลัยปาดัว ในระหว่างที่เขาเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เขามีโอกาสได้ศึกษาวิชาดาราศาสตร์ที่เขาชอบอีกด้วย เนื่องจากวิชาดาราศาสตร์เป็นส่วนหนึ่ง ของวิชาแพทย์ โคเปอร์นิคัสเรียนจบแพทย์ในปี ค.ศ. 1506

ต่อมาในปีค.ศ. 1512 ลุงของเขาเสียชีวิต เขาจึงเดินทางไปอยู่ที่เมืองฟรอนบูร์ก (Frauenburg) เพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับดาราศาสตร์อย่างจริงจัง ส่วนวิชาแพทย์ที่เขาเล่าเรียนมาก็ไม่ละทิ้งให้เสียประโยชน์ เขายังช่วยรักษาผู้ป่วยที่ยากจนในเมืองโดยไม่คิดค่ารักษาพยาบาล ส่วนงานค้นคว้าดาราศาสตร์ ส่วนใหญ่จะเป็นการนำทฤษฎีที่ว่าด้วยเรื่องศูนย์กลางของสุริยะจักรวาลของนักปราชญ์ในอดีตมาศึกษา เช่นของ อาคีสทาร์คัส (Akistarchus), ของปโตเลมี (Ptolemy), ปีทาโกรัส (Pythagoras) ทั้งหมดนี้ โคเปอร์นิคัสเชื่อถือเพียงทฤษฎีของอาคีสทาร์คัสเท่านั้น

เขาจึงเริ่มทำการค้นคว้าและหาข้อพิสูจน์ทฤษฎีเหล่านี้ แต่เนื่องจากในสมัยนั้นขาดแคลนอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์ โคเปอร์นิคัสจึงใช้วิธีเจาะช่องบนฝาผนัง เพื่อให้แสงสว่างผ่านเข้ามา แล้วเฝ้าสังเกตการเดินทางของโลกผ่านทางช่องนี้ ซึ่งเขาพบว่าแสงสว่างจะเดินทางผ่านช่องหนึ่ง ๆ ในทุก ๆ 24 ชั่วโมง ซึ่งหมายถึงการที่โลกหมุนรอบตัวเอง นอกจากนี้เขาได้กำหนดเส้นเมอร์ริเดียนเพื่อใช้เป็นหลักการคำนวณทางดาราศาสตร์อีกด้วย ในที่สุดเขาก็สามารถสรุปหาข้อเท็จจริงได้ว่าทฤษฎีของอาร์คีสทาร์คัสที่เขาเชื่อถือนั่นถูกต้องที่สุด คือ ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของสุริยะจักรวาล โลกและดาวเคราะห์อื่น ๆ

ต่อมาจอร์จ โจคิม เรติคัส (George Joachim Rheticus)นักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันและศาสตราจารย์ทางคณิตศาสตร์ได้ส่งผลงานของโคเปอร์นิคัสไปให้เพื่อนเขาที่อยู่เมืองนูเรมเบิร์ก (Nuremburg) ในประเทศเยอรมนีตีพิมพ์ แต่ก็ไม่ตีพิมพ์ผลงานชิ้นนี้ จนกระทั่งโคเปอร์นิคัสเสียชีวิตในปีค.ศ.1543 จึงทำการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของเขาออกมาในชื่อว่าการปฏิวัติทางโคจรแห่งดาวบนฟากฟ้า (De Revolutionibus Orbrium Codestium) มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า On theRevolutions of the Heavenly Bodies หรือที่รู้จักกันดีในชื่อว่า Revolutions มีทั้งหมด 6 เล่ม หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาลที่โคเปอร์นิคัสเป็นผู้ค้นพบ

โดยสามารถสรุปเป็นทฤษฎีได้ทั้งหมด 3 ข้อ. 1 โดยสามารถสรุปเป็นทฤษฎีได้ทั้งหมด 3 ข้อ 1.ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะจักรวาล โลก และดาวเคราะห์อื่น ๆ ต้องโคจรรอบดวงอาทิตย์ การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ต้องใช้เวลา 1 ปีหรือ 365 วัน ซึ่งทำให้เกิดฤดูกาลขึ้น         2. โลกมีสัณฐานกลมไม่ได้แบนอย่างที่เข้าใจกันมา โคเปอร์นิคัสให้เหตุผลในข้อนี้ว่า มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นดาวดวงเดียวกันในเวลาเดียวกันและสถานที่ต่างกันได้ อีกทั้งโลกต้องหมุนอยู่ตลอดเวลาไม่ได้หยุดนิ่ง โดยโลกใช้เวลา 1 วันหรือ 24 ชั่วโมงในการหมุนรอบตัวเอง ซึ่งทำให้เกิดกลางวัน และกลางคืน         3. ดาวเคราะห์ต่าง ๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นไปในลักษณะวงกลม  โคเปอร์นิคัสได้เขียนรูปภาพแสดงลักษณะการโคจร ของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แต่ทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสข้อนี้ผิดพลาดเพราะเขากล่าวว่า "การโคจรของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม"

บรรณานุกรม สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศ ว&ท 2558. นิโคลัส โคเปอร์นิคัส : Nicolaus Copernicus (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://siweb.dss.go.th/Scientist/scientist/Nicolaus%20Copernicus.html. 18 กรกฏาคม 2558