การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร การสัมมนาเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ วันที่ 19-21 มิถุนายน 2560 ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพฯนครนายก
การส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ระบบส่งเสริมการเกษตรที่ ยึดพื้นที่เป็นหลัก (area-based approach) ดำเนินงานในลักษณะ บูรณาการระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมี ผู้จัดการแปลง เป็นผู้ บริหารจัดการ พื้นที่ ในทุกกิจกรรม ตลอด supply chain
ภาพรวมการจัดการเกษตรแปลงใหญ่ รวมสมาชิก รวมผลิต รวมซื้อ รวมขาย บูรณาการ มีทีมผู้จัดการ ลดปัญหาแรงงาน มีสินค้าหลัก มีตลาดแน่นอน คน ภาครัฐ เกษตรกร ภาคเอกชน ส่งเสริมและสนับสนุนแบบบูรณาการตามความต้องการของพื้นที่และเกษตรกรภายใต้ภารกิจของหน่วยงาน Smart Farmer ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม Smart Group สนับสนุนการบริหารจัดการ การตลาด การรับซื้อผลผลิต และการแปรรูป คน พื้นที่ สภาหอการค้า สภาอุตสาหกรรม สินค้า มีความเหมาะสม (Agrimap)/ ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ พื้นที่ใกล้เคียงกัน มีข้อมูลและแผนที่รายแปลง ผลิตเชิงพาณิชย์ ต้นทุนลด ผลผลิตเพิ่ม คุณภาพดี เชื่อมโยงตลาด สมาคม ผู้ส่งออก/ สมาคม ผู้ค้าปลีก บริษัท ผลประโยชน์ร่วม หน่วยงานอื่นๆ เกษตรกร ภาครัฐ ภาคเอกชน 1. บริหารงาน เงิน คน มีประสิทธิภาพ 2. เกิดสมดุลของอุปสงค์ - อุปทาน 3. ความสามารถในการแข่งขัน 1. มีความสามารถในการบริหารจัดการ 2. รายได้เพิ่มและมั่นคง 3. มีตลาดแน่นอน 1.มีแหล่งซื้อสินค้าที่แน่นอนทั้งปริมาณและคุณภาพ 2. Social Business 3. CSR/ ชื่อเสียง
หลักการดำเนินการเกษตรแปลงใหญ่ พื้นที่เหมาะสมสอดคล้องกับ AGRIMAP มีกระบวนการกลุ่ม : สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน มีแหล่งน้ำชัดเจน/ปริมาณน้ำเพียงพอ มีตลาดรองรับ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพื้นที่ กำหนดเป้าหมายและแผนปฏิบัติที่ชัดเจน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร กำหนดมาตรฐานการผลิต ผู้จัดการแปลงที่มีความสามารถ
เป้าหมาย : ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มโอกาสแข่งขัน ตัวชี้วัด : ต้นทุนต่อหน่วยลดลง ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น พิจารณาจากกิจกรรม การใช้ปัจจัยการผลิต การใช้แรงงานและเครื่องจักรกลการเกษตร การปรับปรุงดิน การบริหารจัดการ ทีมงานหลัก : การตลาด – สหกรณ์จังหวัด การผลิต – เกษตรจังหวัด เพิ่มผลผลิต – พัฒนาที่ดิน บริหารจัดการ – เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ผู้จัดการแปลง : เกษตรอำเภอ/ปศุสัตว์อำเภอ/ประมงอำเภอ/สปก./สหกรณ์/ชลประทาน
เป้าหมายการพัฒนาแปลงใหญ่ เป้าหมาย 5 ด้าน ลดต้นทุนการผลิต (20%) เพิ่มผลผลิต (20%) เพิ่มคุณภาพผลผลิต/จัดทำมาตรฐาน บริหารจัดการ จัดการด้านการตลาด
ขั้นตอนการพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่ การเตรียมการ การพัฒนาผู้จัดการแปลง การกำหนดเป้าหมายและแผนพัฒนา การดำเนินงานตามแผน การติดตามและประเมินผล
Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. วิเคราะห์และวางแผนการตลาด และจัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม (ระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ) 4. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน 4. พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม 1. การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ IFPP 2. พัฒนาผู้จัดการแปลง 3. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็นผู้จัดการแปลง 4. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพแก่สมาชิกกลุ่ม 5. ทบทวนปรับปรุงแผนและเป้าหมายของกลุ่ม แปลงปี 2559 ระยะเวลา พ.ย. 59 -ม.ค. 60 พ.ย. 59- ก.ย. 60 พ.ย. 59- ม.ค. 60 พ.ย. 59 - ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีgกี่ยวข้อง กสส./กสก. แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 600 แปลง/กลุ่มสามารถบริหารจัดการแปลงในด้านการวางแผน/จัดการการผลิต การตลาดและการบริหารจัดการกลุ่มได้ดีขึ้น 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย
Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ - แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผนปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนาการผลิต 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. เสนอข้อมูลผ่าน SC และคณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบรับรองแปลง 4. แจ้งผลการพิจารณาให้ฝ่ายเลขาฯ (กสก.) ภายใน มค. 60 5. บันทึกข้อมูลแปลงที่ผ่านการรับรองในระบบ 6. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. ทีมผู้จัดการร่วมกับเกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 3. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. กำหนดเป้าหมายการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2560 ระยะเวลา พ.ย. 59-ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. แปลงใหญ่ ปี 2560 จำนวนไม่น้อยกว่า 400 แปลง 1. ลดต้นทุน 20% 2. เพิ่มผลผลิต 20% 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด 5. เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย
การปรับเงื่อนไขและเกณฑ์แปลงใหญ่ เดิม ใหม่ ลดขั้นตอนการรับรองแปลง คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัดรับรองแปลง คณะทำงาน SC รับรองแปลง องค์กรเกษตรกรสมัครเข้าร่วมแปลงใหญ่ได้ด้วยตนเอง ลดขนาดพื้นที่และจำนวนเกษตรกร พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว พื้นที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ไร่ขึ้นไป และเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 50 ราย พืชไร่ ปาล์มน้ำมัน ยางพารา และข้าว พื้นที่รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป และเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 30 ราย ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ หม่อนประมง ปศุสัตว์ แมลงเศรษฐกิจ พื้นที่รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป หรือเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 50 ราย ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ หม่อนประมง ปศุสัตว์ แมลงเศรษฐกิจ พื้นที่รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป หรือเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 30 ราย
ขั้นตอนการดำเนินงานส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่-ใหม่ ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ สนง.เกษตรอำเภอ/หน่วยงานของ กษ. ระดับจังหวัด/อำเภอ เลขานุการ SC (กษ.จังหวัด) กลุ่มเกษตรกรยื่นใบสมัคร ตรวจความครบถ้วนของหลักฐาน คณะทำงานฯ SC ปรับปรุง เสนอเพื่อพิจารณา จัดตั้งผู้จัดการแปลง/คณะกรรมการกลุ่ม/ฐานข้อมูล/แผนการผลิต รายบุคคล/รายกลุ่ม ผ่าน SC รับรองแปลง งกา คณะอนุฯ ทราบ แจ้งผลการพิจารณา ผจก.ดำเนินงานตามแผน กรมส่งเสริมการเกษตร (จัดทำฐานข้อมูลแปลงใหญ่)
การติดตาม ประเมินผล สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปีละ 2 ครั้ง โดยกรมส่งเสริมการเกษตร รายงานความก้าวหน้า ระบบ online บน web bigfarm60@doae.go.th โดย ผจก แปลง SC เป็นผู้รายงานความก้าวหน้ารายเดือนในภาพรวมของ จังหวัด ประเมินผล สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปีละ 2 ครั้ง
การสร้างเครือข่ายเกษตรแปลงใหญ่ คณะกรรมการเครือข่ายระดับประเทศ* คณะกรรมการเครือข่ายระดับเขต* คณะกรรมการเครือข่ายระดับจังหวัด เครือข่ายการเรียนรู้และร่วมมือกันพัฒนาแปลงใหญ่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต พัฒนาการบริหารจัดการ และพัฒนาการจัดการการตลาด หมายเหตุ *คัดเลือกในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การดำเนินงานส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่” เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2560 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้
คณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ระดับประเทศ 1. นายวลิต เจริญสมบัติ แปลงใหญ่ข้าว ราชบุรี ประธาน 2. นายจิตติ เจียมเจือจันทร์ แปลงใหญ่โคเนื้อ อุทัยธานี รองประธาน 1 3. นายบุญมี สุระโคตร แปลงใหญ่ข้าว ศรีสะเกษ รองประธาน 2 4. นายวิวัฒน์ นุ่มกำเนิด แปลงใหญ่ข้าว กทม. กรรมการ 5. นายพันธศักดิ์ จิตรรัตน์ แปลงใหญ่ปาล์มน้ำมัน กระบี่ กรรมการ 6. นายอุดม วรัญญูรัฐ แปลงใหญ่ทุเรียน จันทบุรี กรรมการ 7. นายพัด ไชยวงศ์ แปลงใหญ่ข้าว เชียงใหม่ ประชาสัมพันธ์ 8. นายดลรอมาน สาเมาะบาซา แปลงใหญ่ทุเรียน ปัตตานี เหรัญญิก 9. นายวุฒิไกร ไทยประยูร แปลงใหญ่ข้าว กาฬสินธุ์ เลขานุการ
การจัดประชุมคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ เดิม ระดับจังหวัด จัดประชุมทุก 4 เดือน (ปีละ 3 ครั้ง) ระดับเขต จัดประชุมทุก 3 เดือน (ปีละ 4 ครั้ง) ระดับประเทศ จัดประชุมทุก 2 เดือน (ปีละ 6 ครั้ง) ใหม่ ทุกระดับ จัดประชุม ทุก 2 เดือน (ปีละ 6 ครั้ง)
ผลการดำเนินงาน ปี 59
มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก./ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 1.ข้าว 949,254 63,989 4,222 3,420 583 659 758 431 1,188 2.ข้าวโพด 27,978 2,221 4,158 3,214 1,050 1,192 26 32 58 3.มันสำปะหลัง 86,778 4,960 4,775 3,692 3,750 4.793 94 136 230 4.ผัก/สมุนไพร 11,369 2,509 5,812 4,853 1,750 2,279 11 63 74 5.ปาล์มน้ำมัน 272,600 6,949 10,574 8,998 3,400 4,000 430 818 1,248 6.ทุเรียน 15,280 1,485 23,360 19,692 2,000 2,308 56 376 432 7.มังคุด 6,762 1,257 6,246 5,266 408 471 7 25
มูลค่าเพิ่มจากแปลงใหญ่ 12 ชนิดสินค้า ปี 2559 (ต่อ) พื้นที่ (ไร่) เกษตรกร (ราย) ต้นทุน (บ/ไร่) ผลผลิต (กก./ไร่) มูลค่าเพิ่มรวม (ล้านบาท) เดิม ใหม่ ผลผลิต ต้นทุน รวม 8.ลำไย 21,113 2,230 22,613 19,062 1,500 1,731 75 171 246 9.หม่อนไหม 834 382 10,415 9,568 598 638 1 10 11 10.กล้วยไม้ 607 33 156,000 120,0000 450 500 12 13 11.โคเนื้อ 3,501 1,333 30,769 29,169 15,600 18,000 6 588 594 12.ปลานิล 17,294 1,563 19,730 18,003 566 612 29 62 91 ผลรวมทั้งหมด 1,396,077 87,308 1,502 2,715 4,217 ผลรวมเฉพาะพืช 1,392,576 86,015 1,467 2,065 3,532 ค่าเฉลี่ยมูลค่าเพิ่มที่เกษตรกรได้รับ= 41,060 บาท/คน (คิดเฉพาะด้านพืช)
ผลการดำเนินงานแปลงใหญ่ภาพรวม ปี ผลงาน (แปลง) พื้นที่ (ล้านไร่) เกษตรกร (ราย) หมายเหตุ 2559 (ดำเนินการต่อเนื่อง) 597 1.49 96,301 แปลงปี 59 ขอยกเลิก 3 แปลง ได้แก่ 1) ข้าว จ.ขอนแก่น 2) ข้าว จ.สมุทรสงคราม 3) หอยแครง จ.เพชรบุรี 2560 1,714 2.44 211,882 - งบปกติ 1,003 1.68 154,338 - งบข้าวหลักเกณฑ์ใหม่ 711 0.76 57,544 รวม 2,311 3.93 308,183
ผลการดำเนินงานแปลง ปี 2559 (597 แปลง) (ดำเนินงานในปี 2560) พัฒนาผู้จัดการแปลงเพิ่มเติมอีก 332 คน (ครบทุกแปลง) จัดทำแผนพัฒนารายแปลงครบทุกแปลง ถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรแล้ว (เน้นประเด็นพัฒนาคุณภาพ ตลาด บริหารจัดการกลุ่ม) การเชื่อมโยงตลาด - จัดเวทีผู้แทนแปลงใหญ่พบผู้ประกอบการ (โลตัส) 3 ภูมิภาค - ทุกแปลงเชื่อมโยง/มีตลาดรองรับผลผลิตแล้ว พัฒนากลุ่ม เป็น วสช. 393 กลุ่ม สหกรณ์ 122 กลุ่ม ที่เหลือ 82 แปลง (อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนากลุ่มและจดทะเบียน) การพัฒนาคุณภาพผลผลิต : ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP 32,354 ราย อินทรีย์ 5,463 ราย RSPO 1,355 ราย ที่เหลืออยู่ระหว่างการตรวจประเมิน การจัดชั้นคุณภาพ : ระดับ A 197 แปลง ระดับ B 177 แปลง ระดับ C 57 แปลง และอยู่ระหว่างการประเมิน 166 แปลง
ผลการดำเนินงานแปลง ปี 2560 (1,003 แปลง) แปลงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณปกติของหน่วยงาน กษ. และหน่วยงานภาคี (งบจังหวัด/กลุ่มจังหวัด) จัดทำแผนพัฒนารายแปลงแล้ว จำนวน 400 แปลง (เป้าหมายเดิม 400) ถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกรครบทุกแปลง เน้นประเด็น การลดต้นทุน การเพิ่ม ผลผลิต) การเชื่อมโยงตลาดแล้ว จำนวน 363 แปลง พัฒนากลุ่ม เป็น วสช. 391 กลุ่ม สหกรณ์ 21 กลุ่ม กลุ่มเกษตรกร 109 กลุ่ม ที่เหลือ 482 แปลง อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนากลุ่มและจดทะเบียน การพัฒนาคุณภาพ : อยู่ระหว่างดำเนินการโดยถ่ายทอดความรู้เพื่อเข้าสู่มาตรฐานและรอรับการตรวจประเมิน (เฉพาะสินค้าที่มีการรับรองมาตรฐาน) การจัดชั้นคุณภาพ : ระดับ A 60 แปลง ระดับ B 244 แปลง ระดับ C 438 แปลง และอยู่ระหว่างการจัดชั้น 142 แปลง
นาแปลงใหญ่หลักเกณฑ์ใหม่ เป้าหมาย 750 แปลง รับรอง 711 แปลง (เข้าร่วมโครงการแปลงใหญ่ทั่วไป โดยใช้งบพัฒนาจังหวัด 39 แปลง) ความก้าวหน้าการดำเนินงาน ชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 3 ครั้ง 730 ราย ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย 711 แปลง สนับสนุนเมล็ดพันธ์แก่สมาชิกไป 300 แปลง (คงเหลือ 411 แปลง กำหนดแล้วเสร็จภายใน มิ.ย. 60) กิจกรรมอื่นๆ เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยี การสนับสนุนเครื่องจักรกลและการพัฒนาผู้จัดการแปลง อยู่ระหว่างการขอรับจัดสรรงบประมาณ
แผนการดำเนินงานในช่วงต่อไป ในระดับแปลง แปลงปี 59 (597 แปลง) - พัฒนาเกษตรกรเป็นผู้จัดการแปลงใหญ่ โดยให้ประธานแปลงทำหน้าที่ผู้จัดการแปลงและปรับให้เจ้าหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง - ยกระดับมาตรฐานคุณภาพแปลงใหญ่จากระดับ B และ C เข้าสู่คุณภาพระดับ A
แผนการดำเนินงานในช่วงต่อไป ในระดับแปลง (ต่อ) แปลงปี 60 (1,003 แปลง) - เร่งรัดการจัดทำแผนรายแปลงให้ครบ - พัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการแปลงได้ด้วยตนเอง โดยประธานกลุ่มต้องสามารถเป็นผู้จัดการแปลงได้
แผนการดำเนินงานในช่วงต่อไป ในระดับแปลง (ต่อ) นาแปลงใหญ่ (711 แปลง) - ประสานเร่งรัดสำนักงบประมาณในการจัดสรรงบประมาณให้ทันฤดูการผลิต - เตรียมการทุกกิจกรรมทั้งในระดับส่วนกลาง และระดับพื้นที่ให้พร้อมการดำเนินการได้ทันที
แผนการดำเนินงานในช่วงต่อไป การบริหารจัดการในภาพรวม - พัฒนาเครือข่ายในระดับประเทศ เขต และจังหวัดให้มีความเข้มแข็ง - พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มสินค้าให้สามารถพัฒนาการผลิต การตลาด เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่อุปทาน
ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานแปลงใหญ่ 1. แปลงใหญ่ที่เกิดจากนโยบายของกรมต่างๆ พบปัญหาดังนี้ 1.1 ไม่มีผู้จัดการแปลง 1.2 ไม่มีงบประมาณรองรับ 1.3 ไม่มีกระบวนการพัฒนากระบวนการกลุ่ม พัฒนาสินค้า 1.4 ไม่มีการสร้างการรับรู้ให้แก่เกษตรกร 2. การบันทึกข้อมูลในระบบ bigfarm ยังไม่ครบถ้วน สมบูรณ์ ทำให้ไม่สามารถ สรุปข้อมูลในภาพรวมมาใช้ประโยชน์ได้ 3. แปลงที่อยู่ในพื้นที่นิคม สหกรณ์ ปฏิรูปที่ดิน ได้เสนอสมาชิกทั้งหมดในพื้นที่ เข้ามาเป็นแปลงใหญ่ แต่ดำเนินการพัฒนาเพียงบางส่วน
แนวทางการแก้ไขปัญหา 1. ให้ SC ทำความเข้าใจในระบบการบริหารจัดการแปลงใหญ่ แก่ทุกหน่วยงาน เพื่อถือปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน 2. บันทึกข้อมูลในระบบ bigfarm ให้ครบทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง 3. ทำความเข้าใจ/สร้างความรับรู้กับเกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ (วัตถุประสงค์ แนวทางการดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมของสมาชิก ฯลฯ) 4. SC ประสานการทำงานกับเครือข่าย ศพก. และแปลงใหญ่ระดับจังหวัด (ให้ประธานเข้าร่วมประชุมกับคณะ SC ฯลฯ) 5. ให้มีการจัดระบบการปลูกพืชในนาแปลงใหญ่ รวมทั้งเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อพึ่งพาตนเอง และลดรายจ่าย
ขอบคุณ