(เมล็ดเรียบสีเหลือง)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
Advertisements

การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ลักษณะทางพันธุกรรม นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
Chi-square Test for Mendelian Ratio
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
System Requirement Collection (2)
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Overview of Animal Breeding Stop and think ?... ทำไมต้องมีการปรับปรุงพันธุ์ สัตว์ ? ต้องการผลิตลูกสัตว์ที่มี ลักษณะดีเด่นขึ้น.
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
การออกแบบ Design.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Database Management System
L/O/G/O. เป็นแผนภาพการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเพื่อแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มมโนมติที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ด้วยเส้นของคำเชื่อม ที่เหมาะสมจะเริ่มจากการเลือกคำที่เป็นมโนมติที่สำคัญ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
1 ไร่ 1 งาน 50 ตร. วา ที่ดินประเภท ย.1 สีเหลือง ที่ดินประเภท ที่อยู่อาศัยหนาแน่น น้อย กิจกรรมหลัก การอยู่ อาศัย สถาบันราชการ กิจการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ.
ยีนและโครโมโซม.
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
การให้เหตุผล การให้เหตุผลแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. การให้เหตุผลแบบ อุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย เป็นวิธีการสรุปผล จากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อค้นหาความ.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รายการ(List) [2] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Mating System Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
การทำ Normalization 14/11/61.
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
กฎพันธุกรรมของ Mendel
พื้นที่ผิวของพีระมิด
บทที่ 15 การถ่ายทอด ทางพันธุกรรม
ความเค้นและความเครียด
Trees (2) University of Phayao Sanchai Yeewiyom
ระดับความเสี่ยง (QQR)
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
4.1 โครโมโซม บทที่ 2 หลักพันธุศาสตร์พื้นฐาน
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ว33241 ชีววิทยา 4 บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
มาทำความรู้จักกับ เห็ดโคนหลวง.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
ต่าง รูปร่าง Allele = Allelomorph
SMS News Distribute Service
กลไกการเกิดวิวัฒนาการ
กลไกการเกิดสปีชีสใหม่
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
Tree.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
การข่มร่วมกัน คุณครูอรุณี จันทร์หอม นางสาวปิยะนุช คงเจริญ เลขที่ 32
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
Sequence Diagram.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(เมล็ดเรียบสีเหลือง) Dihybrid Cross ถ้าผสมถั่วเมล็ดเรียบสีเหลืองที่เป็น homozygous dominance กับถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียวที่เป็น homozygous recessive จะได้ลูก F1 ถ้านำ F1 ผสมกันเองจงหา F2 genotype และ F2 phenotype ตัวอย่าง วิธีทำ 1. สร้างตาราง Punnet square 2. สร้างเส้นแบบแตกแขนง (Branching หรือ Forked-Line method) 3. ใช้หลักความน่าจะเป็น (Probability) โดยผสมทีละลักษณะ (monohybrid cross) 1. ตารางพันเนต (Punnet Square) ของ F2 รุ่นพ่อแม่ (P) : SSYY X ssyy (เมล็ดเรียบสีเหลือง) (เมล็ดขรุขระสีเขียว) F1 SsYy (เมล็ดเรียบสีเหลือง) เซลล์สืบพันธุ์ F1 SY Sy sY sy

F2 Genotype :- เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย SY Sy sY SSYY SSYs SsYY Ssyy SSYy SSyy SsYy ssYY ssYy ssyy จากตารางจีโนไทป์มี 9 ชนิด (16 Combinations) คือ 1/16 SSYY 2/16 SsYY 1/16 ssYY 2/16 SSyy 4/16 SyYy 2/16 ssYy 1/16 SSyy 2/16 Ssyy 1/16 ssyy สูตร หาชนิดจีโนไทป์ = 3n (n = จำนวนคู่ของ heterozygous gene) เช่น จากกรณีตัวอย่างผสม YySs เข้าด้วยกัน จะเห็นว่า n = 2 คือจำนวนคู่ของ heterozygous gene มี 2 คู่ ดังนั้นจีโนไทป์จึงมี 9 ชนิด (33 = 9) F2 Phenotype

ระดับการแสดงลักษณะเด่น 1. Complete dominance Allele หนึ่งสามารถข่มอีก allele หนึ่งได้ทั้งหมด 100 ทำให้ระดับการแสดงออกของ heterozygous (Rr) (แดง) เท่ากับ homozygous (RR)(แดง) Rr = RR

2. Incomplete (partial) dominance Allele หนึ่งสามารถข่มอีก allele หนึ่งได้บางส่วน ทำให้ระดับการแสดงออกของ homozygous dominance > heterozygous (RR > Rr) (แดง) (ชมพู)

P1 (RED) P2 (WHITE) X F1 F2

ในกว้าง ดอกสีแดง กับใบแคบ ดอกสีขาว ที่ต่างเป็นพันธุ์แท้ F1 ใบกว้าง ดอกสีชมพู ให้ F1 ผสมกันเอง จงหาลูกที่ได้เป็นใบกว้าง ดอกสีชมพู Ex. BB RR  bb WW BB RW (กว้าง - ชมพู) Bb RW  Bb RW B – RW 4  2 = 6 16 3

3. CO – dominance เลือดหมู่ AB Allele 2 allele ข่มกันไม่ลง จึงแสดงออกร่วมกัน เท่า ๆ กัน เช่น IA เป็น CO – dominance IB IAIB Antigen A Antigen B เลือดหมู่ AB

สูง 190 cm. สูง 180 cm. 4. Overdominance > Heterozygous Homozygous (tT)  สูง 190 cm. Homozygous (TT)  สูง 180 cm. >

Back Cross การผสมระหว่างลูกผสม (hybrid) กับรุ่นพ่อหรือแม่ที่เป็น homozygous recessive TT  tt Back cross Tt

การตรวจสอบ Unknow genotype 2. ผสมตัวเอง (Self pollination)  ในพืช 1. ทำ Test cross  ใช้ Tester ที่เป็น homozygous recessive (tt) 2. ผสมตัวเอง (Self pollination)  ในพืช TT  TT  TT 100 Tt  TT 1TT 2Tt 1tt 4 4 4 สูง 75 เตี้ย 25

Test cross การผสมเพื่อตรวจสอบ Unknown genotype ว่าเป็น homozygous dominance หรือ heterozygous, เป็น linked gene หรือ independent gene, โดยนำไปผสมกับตัวทดสอบ (tester) ที่เป็น homozygous recessive TT  tt Tt (100) Tt  tt Tt (50) tt (50)

Test cross progenies Rr (เมล็ดกลมทั้งหมด) รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลม RR  เมล็ดขรุขระ rr Test cross progenies Rr (เมล็ดกลมทั้งหมด) รุ่นพ่อแม่ เมล็ดกลม RR  เมล็ดขรุขระ rr Test cross progenies Rr , rr = 1 : 1 (กลม) (ขรุขระ) RR  rr Rr (กลม)

พ่อแม่ ต้นสูงไม่มีขน ต้นเตี้ยมีขน เซลล์สืบพันธุ์ 2 แบบ ต้นสูงไม่มีขน (TtSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) พ่อแม่ T S O t s o t s o T S O t s o t s o t s o (TS) (ts) (ts) (ts) เซลล์สืบพันธุ์ 2 แบบ ต้นสูงไม่มีขน (TtSs) 54 ต้น ต้นเตี้ยมีขน (ttss) 58 ต้น t s o t s o T S O t s o ลูก 1 : 1 แผนภาพการผสมลักษณะพันธุกรรมที่เป็นลิงค์ยีน

พ่อแม่ เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ 1 : 1 : 1 : 1 ต้นสูงไม่มีขน ต้นเตี้ยมีขน (TtSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) พ่อแม่ T o to S o so t o to s o so (TS) (Ts) (tS) (ts) (ts) เซลล์สืบพันธุ์ 4 แบบ T o So T o so t o So t o so t o so ต้นสูงไม่มีขน (TtSs) ต้นสูงมีขน (Ttss) ต้นเตี้ยไม่มีขน (ttSs) ต้นเตี้ยมีขน (ttss) T o to S o so T o to s o so t o to S o so t o to s o so 1 : 1 : 1 : 1 แผนภาพแสดงลักษณะพันธุกรรม independent gene (ยีนเป็นอิสระต่อกัน)