การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
Community of Practice CoP มีหลายรูปแบบ เล็ก หรือ ใหญ่ มีอายุยืนยาว หรือ มีอายุสั้น อยู่รวมกัน หรือ กระจายตัว เป็นเนื้อเดียวกัน หรือ เป็น ส่วนผสมที่หลากหลาย.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
นครศรีธรร มราช “ การ ท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ และ วัฒนธรรม ” ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย หรือโครงการสำคัญ (Flagship Project) สรุปประเด็นสำคัญต่อ ยุทธศาสตร์ (Strategic.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การบริหารหลักสูตร.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
วิชาการจัดการบริการสำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม

ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การจัดการตลาดอย่างสร้างสรรค์ด้วย 7Ps
การจัดการความรู้ Knowledge Management
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Creative Tourism

แนวคิด เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้พัฒนาศักยภาพและความสามารถ โดยเข้าไปมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตกับคนในพื้นที่

2. การสร้างสรรค์กิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาดั้งเดิมผสมผสานกับแนวคิดของนักท่องเที่ยว สร้างสรรค์กิจกรรมใหม่

3. นักท่องเที่ยวมิใช่ผู้สังเกตการณ์ แต่เป็นผู้มีปฏิสัมพันธ์

4. นักท่องเที่ยวต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

หลักเกณฑ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Originality and Authenticity Imagination and Inspiration Knowledge and Arts Ingenuity and Inventiveness Intellectual assets

ประเภทการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) 1.1 Traditional Cultural Expression 1.2 Cultural Sites

2. ประเภทศิลปะ (Arts) 2.1 Visual arts 2.2 Performing arts

3. Lifestyles 3.1 วิถีชีวิตสังคมเมือง 3.2 วิถีสังคมชนบท

4. ประเภทสื่อ (Media) 4.1 Publishing and printed Media 4.2 Audiovisual

5. Functional Creation 5.1 Design 5.2 New Media 5.3 Creative Tourism Service

นักท่องเที่ยวมีความเข้าใจในคุณค่าทางสังคม วัฒนธรรม และ สภาพแวดล้อมของพื้นที่ท่องเที่ยวอย่างลึกซึ้ง โดยผ่าน ประสบการณ์ตรงร่วมกับเจ้าของพื้นที่ หรือเจ้าของวัฒนธรรม

ชุมชนต้องตระหนักในคุณค่ามรดกทางวัฒนธรรม และ/หรือ ธรรมชาติของตนเอง มีความพร้อมที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ นักท่องเที่ยว ผ่านการทำกิจกรรมร่วมกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง กิจกรรมดังกล่าวจะสร้างความผูกพันระหว่างนักท่องเที่ยวกับ เจ้าของบ้าน ก่อให้เกิดความประทับใจอย่างลึกซึ้งถึง “จิต วิญญาณ” ของพื้นที่การท่องเที่ยว

Crispin Raymond Greg Richard “การท่องเที่ยวซึ่งมอบโอกาสให้กับผู้เดินทางในการพัฒนาศักยภาพ การสร้างสรรค์ ของตน ผ่านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยประสบการณ์จริง ที่เป็นไปตาม ลักษณะเฉพาะของพื้นที่เป้าหมายที่ได้ท่องเที่ยว” Creative Tourism

แรงบันดาลใจ/วัยรุ่น /South East Asia

Creative Tourism เน้นประสบการณ์จริงทางวัฒนธรรม (hands-on experiences that are culturally authentic) ไม่ใช่ Cultural Tourism ไม่ใช่ Ecotourism ไม่ใช่ Agri-Tourism

คุณลักษณะเฉพาะ 6 ประการของ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Richards) รูปแบบการท่องเที่ยวที่เพิ่มทักษะให้แก่นักท่องเที่ยว โดยนักท่องเที่ยวต้องมีส่วนร่วม รูปแบบการท่องเที่ยวที่มีสินค้าหลักคือ “ทักษะและประสบการณ์ด้านวัฒนธรรมที่เกิดจากการเข้าร่วมกิจกรรมการท่องเที่ยว” รูปแบบการท่องเที่ยวที่เปลี่ยนจากการขายทรัพยากรการท่องเที่ยวที่จับต้องได้สู่ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่จับต้องไม่ได้

4. รูปแบบการท่องเที่ยวที่เปลี่ยนจากสินค้าที่เป็นวัฒนธรรมระดับสูงไปสู่สินค้าที่เป็นวัฒนธรรมประจำวัน 5. รูปแบบการท่องเที่ยวที่เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยวร่วมกับชุมชนท้องถิ่น 6. รูปแบบการท่องเที่ยวที่ต้องมีความโดดเด่นแตกต่างกันด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวเพื่อสร้างเอกลักษณ์ให้กับแหล่งท่องเที่ยว

องค์กรการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific, and Cultural Organization: UNESCO) เป็นองค์กรชำนาญพิเศษของสหประชาชาติที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2498 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์สันติภาพให้เกิดขึ้นในโลก โดยการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเพื่อให้เกิดการยอมรับความแตกต่างของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี วิถีชีวิตของคนทุกกลุ่มในโลก เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งอันเป็นชนวนสู่สงครามล้างผลาญซึ่งกันและกัน รวมถึงการส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติทางการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อให้ทั่วโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิและเสรีภาพที่มนุษย์พึงมีโดยไม่ถือเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ตามกฎบัตรสหประชาชาติ โดยองค์การยูเนสโกมีขอบข่ายงานที่กว้างขวางมาก ไม่ได้รับผิดชอบเฉพาะงานทางด้านการศึกษาเท่านั้น แต่ยังมีขอบเขตความรับผิดชอบรวมถึงงานวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ สื่อสารมวลชนและสารสนเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจุบันมีสมาชิกถึง 193 ประเทศ

ปี 2004 โครงการ “เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์” (The Creative Cities Network) เป้าหมาย: การสร้างการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ (Creating New Tourism Opportunity) นักท่องเที่ยวสามารถรับและเข้าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมนั้นๆ ทั้ง Tangible และ Intangible Cultural เมืองใดเมืองหนึ่งที่จะเข้าร่วมเป็นเมืองสร้างสรรค์ (creative City) ภายใต้ประกาศรับรองโดยยูเนสโก ต้องเลือกเสนอตนเองได้เพียงประเภทเดียว จาก 1 ใน 7 กลุ่มต่อไปนี้

Literature Crafts and Folk art Design Music Gastronomy Cinema Media Art

คุณสมบัติของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Each engaging the other Cross-Cultural Engagement /Cultural Experience Spirit of Place/Deep meaning/Understanding of specific Cultural of the place