การพัฒนาทักษะการคิด การคิดการถึง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ชุมชนปลอดภัย.
การออกแบบและเทคโนโลยี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
โอวาท๓ / ไตรสิกขา.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
วิธิคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ศาสนาเชน Jainism.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะการคิด การคิดการถึง........... *เป็นกิจกรรมทางปัญญาของมนุษย์ (การจำ การรับรู้ และเชาว์ปัญญา) *เป็นธรรมชาติของจิต(ถ้าไม่คิดไม่ใช่จิต) -ต้องคิด -กวัดแกว่ง -ดิ่นรน *การปรารภกับตนเอง * การมองไปข้าหน้าเพื่อต้องการพัฒนาปัญญา =สรรสิ่งทั้งหลายเกิดมาจากความคิด (ปรัชญา)

ดร.สาโรช บัวศรี 1. ความรู้สึก 2. ความจำ 3. จิตนาการ ดร.สาโรช บัวศรี การคิดการถึง........... *เป็นกิจกรรมทางจิตอย่างหนึ่งซึ่งประกอบด้วยลักษณะ 3 ประการ อันแบ่งแยกออกจากกันไม่ได้ 1. ความรู้สึก 2. ความจำ 3. จิตนาการ

ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ การคิดการคือ กิจกรรมทางความคิดที่มี วัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจง เรารู้ว่า กำลังคิด เพื่อวัตถุประสงค์อะไรบางอย่าง และสามารถควบคุมให้คิดจนบรรลุ เป้าหมายได้

โกวิท วรพิพัฒน์ การคิดการ เป็นการแสดงศักยภาพของมนุษย์ในการชี้นำชะตาชีวิตของตัวเอง โดยการพยายามปรับตัวและสิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมเกลืนกัน ด้วยการบวนการแก้ปัญหา

โกวิท วรพิพัฒน์ (ต่อ) โดยมีความเชื่อพื้นฐานว่า... โกวิท วรพิพัฒน์ (ต่อ) โดยมีความเชื่อพื้นฐานว่า... 1.มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข 2. ข้อมูลที่มนุษย์ใช้พิจารณาแก้ปัญหา มี 3 ด้าน 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมสิ่งแวดล้อม 2.3 ข้อมูลวิชาการ

”การคิด เป็นคำที่แสดงถึงลักษณะ ของการคิด และคำที่เกี่ยวกับการใช้ “ความคิด” เช่น การสังแกตุ การแปลความ การเปรียบเทียบ คิดละเอียด คิดอย่างใช้เหตุผล การบวนการตัดสินใจกระบวนการอย่างมีวิจารณญาณ  

การคิดมีหลายระดับ ดังนี้ 1.ระดับขั้นพื้นฐาน เรียกว่า ทักษะการคิด 2.ระดับขั้นกลาง เรียกว่า ลักษณะการคิด 3.ระดับขั้นสูง เรียนว่า กระบวนการคิด  

1. ทักษะการคิด ทักษณะการคิดหมายถึง พฤติกรรมการคิด ที่มีลักษณะ ทักษณะการคิดหมายถึง พฤติกรรมการคิด ที่มีลักษณะ เป็นรูปธรรมเพียงพอที่จะช่วยให้มอง เป็นการกระทำที่ชัดเจ็น   เช่น - การฟัง อ่าน เขียน การอธิบาย การถาม

2. ลักษณะการคิด ลักษณะการคิดหมายถึง การบอกลักษณะต่างๆ ของการคิด เช่น ลักษณะการคิดหมายถึง การบอกลักษณะต่างๆ ของการคิด เช่น - การคิดล่อง, การคิดละเอียด, การคิดชาย- หญิง, การคิดหาเหตุผล, การคิดแบบ วิทยาศาสตร์, การคิดแบบคณิตศาสตร์, การคิดหาตุผล, การคิดแบบโยนิโสมนสิการ

3. กระบวนการคิด ลักษณะการคิดหมายถึง การคิดที่ต้องดำเนินไป ลักษณะการคิดหมายถึง การคิดที่ต้องดำเนินไป ตามลำดับ เช่น - การคิดแบบวิเคราะห์ การคิดแบบสังเคราะห์ การจัดระเบียบ, การประยุกต์, กระบวนการ คิดแก้ปัญญหา, การทำทำนาย การประเมิน ค่า

กรอบความคิด ของ”การคิด ข้อมูลเกี่ยวกับการคิด มีหลายมิติที่สามารถนำมาพัฒนา ในการคิด 3 มิติ มิติด้านทักษะการคิด มิติด้านลักษณะการคิด มิติด้านกระบวนการคิด   

กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)เป็นลักษณะการคิดที่มีความสัมพันธ์กับการแก้ไขปัญหาต้องใช้การคิดอย่างมีเหตุผล มีองค์ประกอบ 7 ประการ 

กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(ต่อ) 1. จุดหมาย/วัตถุประสงค์ 2. ประเด็นคำถาม/ต้องการรู้ 3.สารสนเทศ/ข้อมูลความรู้ต่างๆ 4.ข้มมูลเชิงประจักษ์ /เชื่อถือได้ 5.แนวคิดอย่างมีเหตุผล /กฎ เกณฑ์ ทฤษฎี หลักการ

กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (ต่อ) 6. ข้อสันนิษฐาน /ความสำคัญของผู้คิดที่จอต้องตัดสินใจ 7.การนำไปใช้และผลที่ตามมา

กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ(ก่อน-หลังได้) ผู้เรียนให้ผ่านขั้นตอนทุกขั้น ดังนี้ 1. สังเกตุ 2. อธิบาย 3. รับฟัง 4. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ 5. วิจารณ์ 6. สรุป

กระบวนการเผชิญสถานการณ์ เป็นวิธีการสอนคิดเพื่อสามารถเผชิญสถานการณ์ มี 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การเผชิญ ขั้นตอนที่ 2 การผจญ ขั้นตอนที่ 3 การผสมผสาน ขั้นตอนที่ 4 การเผด็จ

คำถาม 1.การคิดและการสอนคิด : การพัฒนาการด้าน สติปัญญา 1.การคิดและการสอนคิด : การพัฒนาการด้าน สติปัญญา 2.ทักษะการคิด : การคิดขั้นพื้นฐานที่นำไปใช้ใน การคิดอื่นที่มีความสลับซับซ้อน 3.ลักษณะการคิด : การคิดระดับกลางที่จำเป็นต้อง อาศัยทักษะการคิดย่อยในการคิด

คำถาม 4.การบวนการคิด : การคิดชั้นสูงต้องอาศัย 4.การบวนการคิด : การคิดชั้นสูงต้องอาศัย การคิดขั้นพื้นฐานและขันกลาง ในการคิด 5.การสร้างความรู้ : สามรถเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับ ความรู้เดิม ให้มีความหมายกับตนเอง

ดร.ชาติ แจ่มนุช การคิดการถึง........... เป็นกระบวนการทำงานของสมองโดยใช้ประสบการณ์มาสัมผัสกับสิ่งเร้าและข้อมูลหรือสิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาและหาคำตอบ ตัดสินใจหรือสร้างสิ่งใหม่ 2.เป็นพฤฤติกรรมที่เกิดในสมองเป็นนามธรรมไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า การที่จะรู้ว่ามนุษย์คิดอะไร คิดอย่างไร จะต้องสังเกตจาพฤติกรรมที่แสดงออกหรือคำพูดที่พูดออกมา

กระบวนการทางปัญญา ฝึกสังเกต ฝึกบันทึก ฝึกนำเสนอ ฝึกฟัง ฝึกปุจฉา-วิสัชนา ฝึกตั้งคำถามและสมมุติฐาน ฝึกค้นหาคำตอบ

กระบวนการทางปัญญา(ต่อ) 8.ฝึกวิจัย 9.ฝึกเชื่อมโยง 10 ฝึกเขียน

ปัจจัยที่ส่งต่อการคิดของคน 1.พื้นฐานครอบครัว 2.พื้นฐานความรู้ 3.ประสบการณ์ชีวิต 4.การทำงานของสมอง 5.วัฒนธรรม(วิถีชีวิตที่มีอิทธิพลต่อชีวิต) 6.จริยธรรม (กรอบแนวคิดและการตัดสินใจ)

ปัจจัยที่ส่งต่อการคิดของคน 7.การรับรู้ 8.สภาพแวดล้อม 9.ศักยภาพทางทารเรียนรู้ 10.ประสาทรับรู้

ฮัมฟรี (Humphrey 1963) สรุป ความคิด 1.การคิดเกิดขึ้นมนุษย์มีประสบ จำได้ และต้องการ แก้ไขปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง 2.ปัญหาเป็นสภาพการณ์ที่มนุษย์ถูกสกัดกัน ไม่ให้ ไปถึงเป้าหมายที่ต้องการ 3.การคิดเป็นกระบวการผสมผสานลักษณะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเข้าด้วยกัน

ต่อ ฮัมฟรี (Humphrey 1963) สรุป ความคิด 4.การคิดเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ในอดีต 5.กิจกรรมการคิดทุกอย่างเกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน “”การลองผิดลองถูก” 6.แรงจูงใจเป็นสิ่งสำคัญในการคิด(ภายใน-ภายนอก) 7.ภาษาไม่เกียข้องกับการคิด แต่ภาษามีส่วนสำคัญอย่างมากในการคิด

ลักษณะพฤติกรรมของนักคิด 1. อยากรู้อยากเห็น มีความกระหายใคร่รู้อยู่เป็นนิจ 2. ชอบเสาะแสวงหา สำรวจ ศึกษา ค้นคว้า และ ทดลอง 3. ชอบซักถาม และถามคำถามแปลก ๆ 4. ช่างสงสัย เป็นเด็กที่มีความรู้สึกแปลก ประหลาดใจในสิ่งที่พบเห็นเสมอ

5. ช่างสังเกต มองเห็นลักษณะที่แปลก ผิดปกติ หรือช่องว่างที่ขาดหายไปได้ง่ายและเร็ว 6. ชอบแสดงออกมากกว่าจะเก็บกด ถ้าสงสัยสิ่งใด ก็จะถาม หรือพยายามหาคำตอบไม่รั้งรอ 7. มีอารมณ์ขัน มองสิ่งต่าง ๆ ในแง่มุมที่แปลก และ สร้างอารมณ์ขันอยู่เสมอ

วิธีการคิดแบบโยนิโสมนสิการ มาจาก...คำว่า โยนิโส + มนสิการ * โยนิโส มาจาก โยนิ แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งเกิด ปัญญา อุบาย วิธี ทาง * มนสิการ แปลว่า การทำในใจ การคิด คำนึง นึกถึง ใส่ใจ พิจารณา

ความหมายของโยนิโสมนสิการ มี 4 ประการ คือ ความหมายของโยนิโสมนสิการ มี 4 ประการ คือ 1. อุบายมนสิการ หมายถึง คิด หรือพิจารณา คิดอย่างมีวิธี หรือ คิดถูกวิธี 2.ปถมนสิการ หมายถึง คิดเป็นทาง หรือ คิดถูก ทาง คิดได้ต่อเนื่องเป็นลำดับ 3.กรณมนสิการ หมายถึง คิดตามเหตุ คิดต้นเหตุ คิดตามเหตุผล คิดอย่างมีเหตุผล 4.อุปปาทกมนสิการ หมายถึง คิดให้เกิดผล

ทัศนะความคิดในพุทธศาสนาแบบโยนิโสมนสิการ การทำโยนิโสมนสิการให้ถึงพร้อม หมายถึง * ความรู้จักคิด *รู้จักสำเหนียก * คิดวิเคราะห์ หาข้อเท็จจริง *กำหหนดของสิ่งทั้งหลายให้ได้คุณค่าคิดเป็น แก้ปัญหาได้ รู้จัก

การคิดแบบโยนิโสมนสิการ มี 10 อย่าง 1. คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (คิดแบบสัมพันธภาพ : อิทัปปัจจยตา) 2. คิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ (คิดแบบวิเคราะห์ : ขันธ์ 5) 1.รูป 2. เวทนา 3. สัญญา 4.สังขาร 5.วิญญาณ

ต่อการคิดแบบโยนิโสมนสิการ 3. คิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา (คิดแบบสามัญลักษณ์ /สามกระแส :ไตรลักษณ์) 1) อนิจจัง ความเปลี่ยนแปลง ความไม่คงที่ 2) ทุกข์ ความไม่อาจคงสภาพอยาอย่างเดิมได้ 3) อนัตตา ความไม่เป็นตัวตน ไม่ใช่ตัวตน

ต่อการคิดแบบโยนิโสมนสิการ 4. คิดแบบกระบวนการแก้ปัญหา (คิดแบบแก้ทุกข์ : อริยสัจ 4) 1) ดูว่า ปัญหา นั้นคืออะไร 2) หา สาเหตุ ว่ามาจากไหน 3) วาง เป้าหมาย ว่าจะแก้ปัญหาแค่ไหน 4) วาง วิธีดำเนินงาน ว่าใช้มรรควิธีอย่างไร

ต่อการคิดแบบโยนิโสมนสิการ 5. คิดแบบสืบสัมพันธ์เชิงหลักการและความมุ่งหมาย (คิดแบบเสาสภา : สัตบุรุษ)

6. คิดแบบเห็นคุณ-โทษ (ข้อดี ข้อเสีย ข้อเด่น ข้อด้อย) และทางออก (คิดแบบสามมิติ : คุณ - โทษ - ทางออก)

7. คิดแบบคุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม (คิดแบบคุณค่าแท้ - คุณค่าเทียม : ปฏิสังขาโย) สติ และ ปัญญา คุณค่าแท้ หรือ คุณค่าเที่ยม -จีวร/เสื้อ ใส่เพื่ออะไร -รองเท้า ใส่ทำไม

8. คิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม (คิดแบบกุศลภาวนา : ชูความดี)

9. คิดแบบอยู่กับปัจจุบัน (คิดแบบจันทร์เพ็ญ : สติปัฏฐาน 4) 1)กาย 2)เวทนา 3)จิต 4)ธรรม

10. คิดแบบวิเคราะห์ทั่วตลอดรอบด้าน (คิดแบบวิภัชชวาท : คิดแบบวิธีตอบปัญหา4 อย่าง ) ยืน - แยก - ย้อน – หยุด วิภัชชวาท มาจาก วิภัชช + วาท วิภัชชะ แปลว่า แยกแยะ แบ่งออก จำแนกหรือแจกแจง /วิเคราะห์ วาท แปลว่า การกล่าว การพูด การแสดง คำสอน วิภัชชวาท แปลว่า การพูด แยกแยะ พูดจำแนก หรือพูดแจกแจง

วิธีคิดแบบอริยสัจ 4 ก. กระบวนธรรม (ตามสภาพ) 1. ขั้นกำหนดทุกข์ ให้รู้ว่าทุกข์หรือปัญหาคืออะไร 2. ขั้นสืบาสวสมุทัย หยังสาเหตุของทุกข์หรือปัญหา 3. ขั้นเก็งนิโรธ ให้เห็นกระบวนการที่ว่าการดับ ทุกข์แก้ปัญหาเป็นไปได้และอย่างไร = ขั้นตั้งสมมติฐาน

ข. กระบวนวิธี (ของมนุษย์) ที่จะต้องลงมือปฏิบัติ ข. กระบวนวิธี (ของมนุษย์) ที่จะต้องลงมือปฏิบัติ 4. ขั้นเฟ้นหามรรค แยกย่อยออกได้ 3 ขั้น * มรรค 1 = เอสนา หรือคเวสนา * มรรค 2 = วิมังสา หรือประวิจารณ์ = วิเคราะห์ข้อมูล * มรรค 3 = อนุโพธ กับข้อทีผิดออก จับหรือ เฟ้นหาข้อดี “ขั้นสรุปผล“

วิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน 1. การกำหนดปัญหาให้ถูกต้อง 2. การตั้งสมมติฐาน 3. การทดลองและเก็บข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 5. การสรุปผล

จุดมุ่งหมายของวิทยาศาสตร์กับพุทธศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พุทธศาสตร์ * แก้ไขปรากฎการณ์ต่างๆ * เข้าใจกฎเกณฑ์ธรรม- ที่เกิดขึ้น ชาติในนิยาม 5 คือ อุตุ, พืช, จิต, กรรม,ธรรมชาติ * ต้องการรู้จัดกฎเกณฑ์ * ต้องการให้รู้กฎเกณฑ์ ของธรรมชาติ ความจริงของชีวิตมนุษย์

ความคิดแบบพุทธกับความคิดแบบวิทยาศาสตร์ กระบวนการวิทยาศาสตร์ กระบวนการพุทธศาสตร์ 1. ตั้งปัญญหา 1. ทุกข์ - ปรากฏ 2. ตั้งคำถาม เพื่อตอบทดสอบ 2. หาคำตอบจากลัทธิ 3. รวบรวมข้อมูล 3. ลองปฏิบัติโยคะ 4. วิเคราะห์ข้อมูล 4. รวมรวมผลการปฏิบัติ 5. คำตอบชั่วคราวถูกตูงทฤษฎี 5. ผิดเปลี่ยน ถูกดำเนิน 6. นำไประยุกต์ปแก้ปัญหา 6. เผยแผ่แก่ชาวโลก

อายตนะ 6 1. จักขวายตนะ อายตนะ คือ ตา 2. โสตายตนะ “ “ หู 3. ฆานายตนะ “ “ จมูก 4. ชิวหายตนะ “ “ ลิ้น 5. กายายตนะ “ “ กาย 6. มนายตนะ “ “ ใจ

ทวาร 6 1. จักขุทวาร ทวาร (ทางหรือประตู) คือ ตา 2. โสตทวาร “ คือ หู 1. จักขุทวาร ทวาร (ทางหรือประตู) คือ ตา 2. โสตทวาร “ คือ หู 3. ฆานทวาร “ “ จมูก 4. ชิวหาทวาร “ “ ลิ้น 5. กายทวาร “ “ กาย 6. มโนทวาร “ “ ใจ

อายตนะภายใน อายตนะภายนอก อายตนะภายใน อายตนะภายนอก ตา คู่กับ รูป หู “ เสียง จมูก “ กลิ่น ลิ้น “ รส กาย “ โผฏฐัพพะ ใจ “ ธรรมารมณ์

การรับรู้โลกภายนอกนั้น กายเป็นด่านแรกที่สุดในการรับรู้ให้เกิดความรู้ ทำให้เเกิดความรู้เรียกว่า ตา กระทบ รูป “ จักขุวิญญาณ หู “ เสียง “ โสตวิญญาณ จมูก “ กลิ่น “ ฆานวิญญาณ ลิ้น “ รส “ ชิวหาวิญญาณ กาย “ โผฏฐัพพะ “ กายวิญญาณ ใจ “ ธรรมารมณ์ “ มโนวิญญาณ

ความรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร ……? ความรู้ที่แท้นั้นคือ ความคิด (Idea) ที่เก็บสะสมไว้ในจิตของมนุษย์เราอันเกิดจากการที่ ร่างกายมีประสบการณ์ (การรับรู้) ทางประสาท สัมผัส

ความรู้ ตา <-------> รูป = 75 % หู <-------> เสียง = 13 % ตา <-------> รูป = 75 % หู <-------> เสียง = 13 % จมูก<------> กลิ่น = 3 % ลิ้น <-----> รส = 3 % กาย <-----> สัมผัส = 6 % ใจ <-----> รับรู้, ปรุ่งแต่ง

ความคิด หรือการคิดในที่นี้ หมาายถึงการคิด หาเหตุผล(Reasoning) * เหตุ คือ………………………………………………………………. * ผล คือ………………………………………………………………. = เหตุผล คือ……………………………………………………..

กิลฟอร์ด วิธีการคิด 2 แบบ 1. ความคิดรวมหรือความคิดเอกนัย (Convergent thinking) 2. ความคิดกระจายหรือความคิดอเนกนัย (Divergent thinking โครงสร้างความคิด กิลฟอร์ด แบ่ง 3 มิติ คือ มิติที่ 1 เนื้อหา มิติที่ 2 วิธีการคิด มิติที่ 3 ผลของการคิด

มิติที่ 1. เนื้อหา (Content) แบ่ง 4 ลักษณะ 1. ภาพ (Figural = F) 2. สัญญลักษณ์ (Symbolic = S) 3. ภาษา 4. พฤติกรรม

มิติที่ 2. วิธีการคิด 2. การจำ (Memory = M) 1. การรู้การเข้าใจ Cognition = C) 2. การจำ (Memory = M) 3. การคิดแบบอเนกนัยหรือความคิดกระจาย(dIVERGNT THINKING = d) 4. การคิดแบบเอกนัยหรือความคิดรวม(Convergent thinking = N) 5. การประเมินค่า EValation = E)

มิติที่ 3 ผลของการคิด แบ่งเป็น 6 ลักษณะ 1. หน่วย (Units = S) 2. จำพวก (Classes = C) 3. ความสัมพันธ์ (Relations = R) 4. ระบบ (Systems = S) 5. การแปลงรูป (Transformation = T) 6. การประยุกต์ (Impications = I)

องค์ประกอบของความคิด โครงทางสติปัญญา ของ กิลฟอร์ด ประกอบด้วย .... 1. ความคิดริเริ่ม (Originality) 2. ความคิดคล่องตัว (Fluency) 3. ความคิดยืดหยุ่นหรือ (Flexibilify) 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration)

กรอบเนื้อหา 57

คิดสร้างสรรค์ 58

การคิดสร้างสรรค์ ความหมาย..... กระบวนการทางปัญญาที่สามารถขยายขอบเขต ความคิดที่มีอยู่เดิมสู่ความคิดที่แปลกใหม่แตกต่าง ไปจากความคิดเดิม และเป็นความคิดที่ใช้ประโยชน์ ได้อย่างเหมาะสม

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) คุณลักษณะ..... 1. ต้องเป็นสิ่งใหม่ 2. ต้องใช้การได้ 3. ต้องมีความเหมาะสม

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) องค์ประกอบที่สำคัญ..... 1.ความคล่องแคล่ว 2.ความคิดยืดหยุ่น 3.ความคิดริเริ่ม 4. ความคิดละเอียดอ่อน

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) กระบวนการคิด..... 1. ค้นพบปัญหา 2. เตรียมการและรวบรวมข้อมูล 3.วิเคราะห์ 4. ฟูมฟักความคิด 5. ความคิดกระจ่าง 6. ทดสอบความคิด

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) ประเภท..... 1. การเปลี่ยนแปลง (innovation) 2. การสังเคราะห์ (Synthesis) 3. ต่อเนื่อง (Extension) 4. การลอกเลียน (Duplication)

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) ประโยชน์..... 1. ช่วยให้พบวิธีแก้ปัญหาในวิถีทางที่ไม่เคย ปฏิบัติมาก่อน 2. ก่อให้เกิดนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์แปลก ใหม่อย่างไม่หยุดยั้ง 3. ช่วยให้พบหรือได้สิ่งที่ดีกว่าเดิม

การคิดสร้างสรรค์(ต่อ) ประโยชน์..... 4. ช่วยให้มีชีวิตความเป็นอยู่

ความคิดริเริ่ม (Originality) 1. พฤติกรรมของบุคคลที่มีความคิดริเริ่ม 1.1 เป็นบุคคลที่กล้าคิด 1.2 กล้าแสดง 1.3 กล้าทดลอง 1.4 กล้าเสี่ยง 1.5 กล้าเล่นกับความคิดของตน

2. ความคิดคล่องตัว (Fluency) 2.1 ความคิดคล่องแคล้วทางด้านถ้อยคำ 2.2 “ โยงสัมพันธ์ 2.3 “ การแสดงออก 2.4 “ “ ในการคิด

3. ความคิดยืดหยุ่น (Flexbility) 3.1 ความคิดยืดหยุ่นที่เกิดขึ้นทันที 3.2 ความคิดยืดหยุ่นทางด้านการดัดแปลง 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) ประกอบด้วยความดิด * ความคิดริเริม *ความยืดหยุ่น* ความคิดคล่องตัว

ความคิดสร้างสรรค์ 69

เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ -การระดมสมอง -การปลูกฟังความกล้าที่จะทำสิ่งสร้างสรรค์ -การสร้างความคิดใหม่ -การตรวจสอบความคิด -การค้นหาความคิดหรือแนวทางการแก้ไขปัญหา 70

การคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ของกิลฟอร์ด มี 4 ขั้น 1.การค้นหาความหาบขอปัญหา 2.การเปิดใจกว้างเพื่อนำไปสู่วิธีการแก้ไข 3.การพิสูจน์แยกแยะให้ได้มาซึ่งความคิด ที่ดีที่สุด 4.การเปลี่ยนความคิดเห็นให้เป็นการกระทำ 71

ลักษณะพฤติกรรมของนักคิด 1. อยากรู้อยากเห็น มีความกระหายใคร่รู้อยู่เป็นนิจ 2. ชอบเสาะแสวงหา สำรวจ ศึกษา ค้นคว้า และ ทดลอง 3. ชอบซักถาม และถามคำถามแปลก ๆ 4. ช่างสงสัย เป็นเด็กที่มีความรู้สึกแปลก ประหลาดใจในสิ่งที่พบเห็นเสมอ

5. ช่างสังเกต มองเห็นลักษณะที่แปลก ผิดปกติ หรือช่องว่างที่ขาดหายไปได้ง่ายและเร็ว 6. ชอบแสดงออกมากกว่าจะเก็บกด ถ้าสงสัยสิ่งใด ก็จะถาม หรือพยายามหาคำตอบไม่รั้งรอ 7. มีอารมณ์ขัน มองสิ่งต่าง ๆ ในแง่มุมที่แปลก และ สร้างอารมณ์ขันอยู่เสมอ

8. มีสมาธิในสิ่งที่ตนสนใจ 9. สนุกสนานกับการใช้ความคิด 10. สนใจสิ่งต่าง ๆ 11. มีความเป็นตัวเอง

การคิดอย่างเสรี การคิดอย่างมีเหตุผล เจตจำนงเสรี - การคิดไม่มีอิสระ - “มนุษย์เป็นอิสระ หรือไม่ ?”

= มนุษย์ไม่เป็นตัวของตัวเองเลย......?... อดีต กำหนด ปัจจุบัน ปัจจุบัน กำหนด อนาคต เหตุวิสัย = เป็นลักษณะสากลของจักวาล ไม่มีอะไรเกิดขึ้นโดยปราศจากเหตุ”

ความรู้ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน 1. มีระบบความคิดอยู่ในจิต 2. ความคิดนั้นตรงกับสิ่งทั้งหลาย ที่มีอยู่จริง 3. มีความเชื่อในความตรงกัน ระหว่างความคิดกับสิ่งภายนอก

อุปสรรคของการคิด 1. อคติ ความลำเอียง 1. อคติ ความลำเอียง 2. ความเร่งรัดให้คิดในเวลาที่จำกัด 3. สุขภาพทางกายและจิตไม่ดี 4. สภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวย 5. ความเหนื่อยล้าและความซำซากจำเจ 6. การขาดพื้นความรู้ที่เพียงพอ

อุปสรรคของการคิด(ต่อ) 7.ขาดกำลังใจ

ที่มาของความรู้มี 3 ประการ 1. ความรู้ประจักษ์ (Immediat Apprehension) 2. การอนุมาน (Inference) 3. พยานหรือหลักฐาน (Testimony and Authority)

แนวคิดทางปรัชญาแบบตะวันตก แบ่ง 3 1. แนวความคิดแบบวัตถุนิยม (materialistic) 2. แนวความคิดแบบสัจนิยม (Realistic) 3. แนวคิดแบบจิตนิยม (Idealistic)

มีความคิดตามแนวอริยมรร มีองค์ 8 1. สัมมาทิฐิ เห็นชอบ รู้ดี 2. สัมมาสังกัปปะ คิดชอบ คิดดี 3. สัมมาวาจา พูดชอบ พูดดี 4. สัมมากัมมันตะ ทำชอบ ทำดี 5. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ อาชีพดี

6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ พยายามดี 6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ พยายามดี 7. สัมมาสติ ระลึกชอบ ตื่นตัวดี 8. สัมมาสมาธิ ตั้งใจชอบ ตั้งใจดี