Application of Software Package in Office

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
Database Management System
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ฐานข้อมูล.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
บทที่ 2 นอร์มัลไลเซชัน normalization
การทำ Normalization 14/11/61.
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
Chapter 4 : ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
Multistage Cluster Sampling
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
การสร้างฟอร์มย่อย การสร้างฟอร์มย่อยและรายงานย่อย
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 4 ความรู้เกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ทำความรู้จักและใช้งาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
Introduction to Database System
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
Database Design & Development
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

278206 Application of Software Package in Office ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) อ.ธารารัตน์ พวงสุวรรณ thararat@buu.ac.th

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database) ปี ค.ศ.1970 โดย ดร.เอดการ์ คอดด์ (Edgar F. Codd) เป็นรูปแบบที่ทำความเข้าใจได้ง่าย สามารถจัดการกับข้อมูลได้โดยใช้คำสั่งง่าย ๆ ส่วนของการติดต่อกับผู้ใช้ กับส่วนของการเก็บข้อมูลจริงนั้นมีความเป็นอิสระต่อกัน นั่นคือในมุมมองของผู้ใช้จะไม่รู้สึกถึงรายละเอียดที่ซับซ้อนของการเก็บจริง ภาษาที่ใช้ในการเรียกดูข้อมูลเป็นลักษณะคล้ายภาษาอังกฤษ และไม่จำเป็นต้องเขียนเป็นลำดับขั้นตอน เช่น ภาษา SQL

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ นั้นจะอยู่ในรูปแบบของตาราง 2 มิติประกอบด้วย แถว (ROW) และ คอลัมน์ (COLUMN) คอลัมน์ (COLUMN) แถว (ROW)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ใช้ DBMS เป็นพื้นฐานของโมเดลเชิงสัมพันธ์ เรียกว่า “ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System : RDBMS)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง รีเลชั่น (Relation) แอทตริบิวต์ (Attribute) โดเมน (Domain) ทัพเพิล (Tuple) ดีกรี (Degree) คาร์ดินัลลิตี้ (Cardinality)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ รีเลชั่น หมายถึง การกำหนดตารางที่ประกอบด้วยคอลัมน์และแถว หรือตาราง 2 มิติ

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ลักษณะของรีเลชั่น เป็นตาราง 2 มิติ แต่ละช่องของตารางต้องบรรจุข้อมูลเพียงค่าเดียว ไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับคอลัมน์ หรือแถวใด ๆ ข้อมูลในแต่ละแถวต้องไม่ซ้ำกัน ข้อมูลในแต่ละคอลัมน์จะต้องเป็นข้อมูลประเภทเดียวกัน

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ แอทตริบิวต์ คือ คุณสมบัติของรีเลชั่น หรือคอลัมน์ของตารางนั่นเอง หรืออาจเทียบได้กับฟิลด์ในแฟ้มข้อมูล นักศึกษา (รหัสนักศึกษา, ชื่อ-นามสกุล, เพศ, เบอร์ติดต่อ)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ โดเมน (Domain) คือการระบุขอบเขตข้อมูลที่เป็นไปได้ให้แก่แอทตริบิวต์ หนึ่ง ๆ เพื่อเป็นการรับประกันความถูกต้องข้อมูลในระดับหนึ่ง เช่น โดเมนของแอทตริบิวต์เพศ คือ ชาย หรือ หญิง อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดเมนของเงินเดือนอาจารย์จะต้องมีค่าไม่เป็นศูนย์ และ ไม่ติดลบ โดเมนของชื่อสมาชิกจะต้องเป็นตัวอักษรเท่านั้น

โดเมน (Domain) คุณสมบัติของ Domain แต่ละโดเมนจะถูกกำหนดด้วย ชื่อ, ชนิดข้อมูล(data type) และ รูปแบบ (Format) ดังตัวอย่าง ชื่อ ชนิดข้อมูล รูปแบบ Dept_name String 15 Char Salary Integer 8 digits

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ทัพเพิล (Tuple) คือ แถว หรือระเบียน ในตาราง ดีกรี (Degree) คือ จำนวนแอทตริบิวต์ในรีเลชั่น ดีกรีอาจชี้ให้เห็นถึงความละเอียดของรายการข้อมูลก็ได้ คาร์ดินัลลิตี้ (Cardinality) คือจำนวนแถว หรือจำนวนทัพเพิล ภายในตารางหนึ่ง ๆ คาร์ดินัลลิตี้ชี้ให้เห็นถึงจำนวนรายการข้อมูลในตารางหนึ่ง ๆ

ดีกรี(degree) และคาร์ดินัลลิตี(Cardinality) ของ Relation Dept_no Dept_name Location 10 การเงิน กรุงเทพ 20 วิจัย เชียงใหม่ 30 ขาย ชลบุรี Cardinality

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คีย์หลัก (Primary key) แอทตริบิวต์ที่ใช้เพื่อการเจาะจงข้อมูลแถวใดแถวหนึ่งในตาราง โดยที่คีย์หลัก อาจประกอบด้วยแอทตริบิวต์ 1 ตัวหรือมากกว่า 1 ตัว ที่สามารถใช้เป็นตัวเจาะจงบอกว่ากำลังอ้างอิงถึงทัพเพิลไหนหรือแถวไหน อาศัยคีย์หลักเพื่อชี้เฉพาะเจาะจงว่าต้องการระบุถึงข้อมูลแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชั่น

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของแอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์หลัก (1) ค่าของข้อมูลทุกแถวในแอทตริบิวต์ที่ทำหน้าที่เป็นคีย์หลักต้องไม่ซ้ำกัน (2) แอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์หลักอาจประกอบขึ้นจากแอทตริบิวต์มากกว่า 1 แอทตริบิวต์ เพื่อให้ได้เป็นค่าที่ไม่ซ้ำกันในแต่ละแถว เรียกว่า Composite key (3) แอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์หลักจะต้องไม่เป็นค่าว่าง (null values)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ตารางลูกค้า ลูกค้า (รหัสลูกค้า, ชื่อ-นามสกุล, ที่อยู่, โปรโมชัน, เบอร์ติดต่อ, หมายเลขประจำตัวประชาชน)

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ตารางการลงทะเบียน การลงทะเบียน (รหัสนักศึกษา, รหัสวิชาที่ลงทะเบียน, รหัสผู้สอน, สถานที่, วันที่เรียน

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คีย์นอก (Foreign key) ความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างรีเลชันจะอาศัยแอทตริบิวต์ตัวหนึ่งซึ่งไปสัมพันธ์กับคีย์หลักในรีเลชันอื่น เกิดเป็นการเชื่อมโยงระหว่างรีเลชัน แอทตริบิวต์นี้เรียกว่า คีย์นอก คือ แอทตริบิวต์ที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน คือ กลุ่มของแอทตริบิวต์ในรีเลชันหนึ่งที่มีคุณสมบัติเป็นคีย์หลัก และไปปรากฏในอีกรีเลชั่นหนึ่ง

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ คุณสมบัติของคีย์นอก (1) ค่าที่ปรากฏในแอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์นอกในรีเลชันหนึ่งจะต้องมีค่าเท่ากับค่าในแอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์หลักในแถวใดแถวหนึ่งในอีกรีเลชัน หนึ่ง (2) ค่าที่ปรากฏในแอทตริบิวต์ที่เป็นคีย์นอกอาจเป็นค่าว่างได้ (3) ทั้งคีย์นอกและคีย์หลักในอีกรีเลชันที่สัมพันธ์กันไม่จำเป็นต้องมีชื่อแอทตริบิวต์เดียวกันก็ได้ แต่จำเป็นต้องมีโดเมนเดียวกัน

ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ของข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูลแบ่งเป็น 3 ประเภท ซึ่งการออกแบบ ฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างเชิงสัมพันธ์ หรือ (Relation database) ก็คือการออกแบบตารางเพื่อเก็บข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ โดยจะต้องสามารถกำหนดความสัมพันธ์ให้ระหว่างกลุ่มข้อมูลเหล่านั้น 1) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One ) 2) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) 3) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many)

บัตรประจำตัวนักศึกษา ความสัมพันธ์ของข้อมูล 1) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One ) ความสัมพันธ์แบบ 1:1 (One to One) คือความสัมพันธ์ของข้อมูล 2 ตัว ที่มีลักษณะ 1 ต่อ 1 หรือข้อมูลตัวหนึ่ง จะมีความสัมพันธ์กับข้อมูลอีก ตัวหนึ่งได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น 1 นักศึกษา บัตรประจำตัวนักศึกษา

ความสัมพันธ์ของข้อมูล 2) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) ความสัมพันธ์แบบ 1:N (One to Many) คือ ความสัมพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง 1 N ชื่อลูกค้า บัญชีธนาคาร

ความสัมพันธ์ของข้อมูล 3) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) คือ ความสัมพันธ์ซึ่งข้อมูลตัวหนึ่งมีหลายค่า และมีความสัมพันธ์กับข้อมูลตัวอื่นได้หลายอย่าง เช่น มีวิชาที่เปิดสอนหลายวิชา แต่ละวิชามีนักศึกษาหลายคนลงเรียน ใน 1 คอร์ดเปิดสอนได้หลายวิชา วิชาภาษาอังกฤษ วิชาเคมี วิชาฟิสิกส์ นศ.หลายคน ลงได้หลายวิชา สมชาย สมปอง สมศักดิ์ สมทรง สมทรง แต่ละรายวิชา น.ศ. สามารถลงได้หลายคน

ความสัมพันธ์ของข้อมูล 3) ความสัมพันธ์แบบ M:N (Many to Many) M N วิชาเรียน นักศึกษา

กฎที่ใช้จัดเก็บในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ในการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นั้น มีข้อกำหนด เพื่อสร้างความถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูล (Integrity) ในฐานข้อมูลดังนี้

กฎที่ใช้จัดเก็บในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ เป็นไปตามกฎความคงสภาพของการอ้างอิง (Referential integrity rule) กฎข้อที่ 1 ทุกเทเบิลต้องมีคีย์หลัก (Primary Key)

กฎที่ใช้จัดเก็บในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎข้อที่ 2 คีย์หลักในแต่ละเทเบิลจะไม่อนุญาตให้เป็นค่าว่าง

กฎที่ใช้จัดเก็บในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ กฎข้อที่ 3 ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเทเบิล 2 เทเบิลในฐานข้อมูล เชิงสัมพันธ์สามารถกำหนด (Foreign Key) ซึ่งอาจจะมีค่า NULL (ไม่มีข้อมูล) หรือมีค่าตรงกับคีย์หลักในอีกเทเบิลหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กัน

กฎที่ใช้จัดเก็บในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

มุงหลังคา ไม่ใช่ ข้อมูลที่มีในตารางประเภทความชำนาญ รูปแสดงรีเลชันที่ผิดกฎความคงสภาพของการอ้างอิง

MS Access 2007 เป็นโปรแกรมจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management) ที่มีความสามารถทั้งจัดการฐานข้อมูลและสร้างโปรแกรมในตัวเดียวกัน เหมาะสำหรับผู้ใช้ที่ไม่มีความรู้ในเรื่องการเขียนโปรแกรมมากนัก เนื่องจากมีวิธีการใช้งานง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้

ความสามารถของโปรแกรม Microsoft Access มีเครื่องมือต่างๆ ในการจัดการฐานข้อมูลรวมถึงสร้างโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ว และใช้งานง่ายซึ่งอาจจะไม่ต้องเขียนโปรแกรมเลย มีเครื่องมือในการ สอบถามข้อมูลต่างๆ จากฐานข้อมูล เพื่อนำผลลัพธ์ไปทำงานบางอย่าง เช่น เราอาจจะต้องการทราบว่ายอดขายสินค้าแต่ละอย่างเป็นเท่าไร และให้พิมพ์ออกมาเป็นรายงาน เป็นต้น สามารถสร้างเครื่อง มือในการติดต่อกับผู้ใช้ได้อย่างเหมาะสม เช่น การแสดงข้อมูลลูกค้าให้ผู้ใช้งานแก้ไขข้อมูลได้ เป็นต้น ช่วยในการสร้าง รายงานจากฐานข้อมูลได้ เพื่อใช้ในการทำงานบางอย่าง เช่น พิมพ์ชื่อ และที่อยู่ลูกค้า เพื่อทำฉลากติดซองจดหมายส่งข้อมูลไปยังลูกค้า เป็นต้น

ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูลด้วย ACCESS ออกแบบฐานข้อมูล สร้างตารางและกำหนดความสัมพันธ์ สร้างฟอร์มสำหรับกรอกข้อมูล สร้างคิวรีเพื่อดึงข้อมูลที่ต้องการ จัดทำรายงาน

การเข้าสู่โปรแกรม

1 2 19/04/62 Microsoft Access

Table ใช้สำหรับกำหนดโครงสร้างตาราง Forms ใช้สร้างหน้าจอสำหรับบันทึกข้อมูลหรือแสดงข้อมูล Report ใช้สร้างรูปแบบรายงานต่าง ๆ Queries ใช้สืบค้นหรือเรียกดูข้อมูลตามเงื่อนไข 19/04/62 Microsoft Access

การใช้งานโปรแกรม ACCESS 2007 เมื่อ click ที่แถบ Create จะเห็นเครื่องมือทั้ง 4 ดังนี้ query

แบบฝึกหัด ให้นิสิตออกแบบตารางและความสัมพันธ์ของตาราง เพื่อเก็บข้อมูลดังต่อไปนี้ ตารางนิสิต เก็บข้อมูลเกี่ยวกับนิสิต ตารางรายวิชาเรียน เก็บข้อมูลเกี่ยวกับรายวิชา ตารางอาจารย์ผู้สอน เก็บข้อมูลเกี่ยวกับอาจารย์ผู้สอน โดยกำหนดความสัมพันธ์ดังนี้ นิสิตหนึ่งคนสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลายรายวิชา รายวิชาหนึ่งสามารถมีนิสิตลงทะเบียนเรียนได้หลายคน อาจารย์คนหนึ่งสามารถสอนได้หลายรายวิชา รายวิชาหนึ่งสามารถสอนโดยอาจารย์ 1 ท่านเท่านั้น หมายเหตุ กำหนดคีย์หลักสำหรับทุกตารางด้วย