การบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสืบสวนสอบสวน การบรรยาย เรื่อง เทคนิคการสืบสวนสอบสวน โดย นายซาเล็ม อุสตัส นางศิริรัตน์ วสุวัต นายภาส ภาสสัทธา นายภูมิวัฒน์ รัตนผล
หัวข้อบรรยาย กระบวนการสืบสวนสอบสวน เทคนิคและวิธีการสืบสวนสอบสวน การฝึกปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรคในการสืบสวน สอบสวน
การสืบสวนข้อเท็จจริง การสอบสวนทางวินัย การไต่สวนข้อเท็จจริง การดำเนินการทางวินัย การสืบสวนข้อเท็จจริง การสอบสวนทางวินัย การดำเนินการทางแพ่ง การดำเนินการอาญา การดำเนินการทางวินัย กรณีทุจริต การดำเนินการอาญา การไต่สวนข้อเท็จจริง การดำเนินการทางแพ่ง การดำเนินการทางวินัย พยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ กรณีร่ำรวยผิดปกติ การดำเนินการทางแพ่ง
กระบวนการ ในการสืบสวนสอบสวน 1. ทางอาญา พนักงานสอบสวน ตาม ป.วิอาญา 2. ทางวินัย ตามกฎหมายเฉพาะ 3. ป.ป.ช. ตาม พ.ร.บ. ป.ป.ช.
กระบวนการในการสืบสวน สอบสวนทางอาญา 1. หน่วยงานและบุคคลในกระบวนการ ยุติธรรม 2. การสอบสวน
หน่วยงานและบุคคลในกระบวนการยุติธรรม PROCESS ศาล พนักงานสอบสวน อัยการ ราชทัณฑ์ ทนายความ IN PUT OUT PUT DATA ตำรวจ ประชาชน ผู้เสียหาย ผู้กล่าวโทษ ผู้กระทำผิด
การสอบสวน (ปวอ. มาตรา 2 (11) ,131 ,134) พยานหลักฐาน การดำเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแห่ง กม.นี้ พยานบุคคล พยานวัตถุ พยานเอกสาร 1. ประจักษ์พยาน 2. พยานพฤติเหตุ แวดล้อมกรณี 3. พยานบอกเล่า สิ่งของ มีไว้ ได้มา ได้ใช้ สงสัยว่าได้ใช้ หรืออาจใช้ในการกระทำผิด เอกสารที่ใช้ ยืนยันหรือใช้ พิสูจน์ความผิด เช่นบันทึกการตรวจสถานที่ เกิดเหตุ แผนที่สังเขป บัญชีของกลาง การสอบสวนทั่วไป การสืบสวน ทะเบียนประวัติ กองพิสูจน์ หลักฐาน แหล่งข้อมูลอื่น ๆ
กระบวนการสืบสวนสอบสวนทางวินัย กรณีกระทำผิดวินัย ไม่ร้ายแรง กรณีกระทำผิดวินัยร้ายแรง
วินัยข้าราชการพลเรือน แบบแผนความประพฤติ ที่กำหนดให้ข้าราชการพลเรือน ควบคุมตนเอง และควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาให้ประพฤติหรือปฏิบัติ ตามที่กำหนดไว้ วินัยข้าราชการครู ข้อกำหนดพฤติกรรม สำหรับข้าราชการครูในการปฏิบัติ ตามระเบียบแบบแผน ข้อบังคับที่กำหนด ทั้งนี้เพื่อให้การปฏิบัติ บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
วินัยและการรักษาวินัย พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครู และบุคลากร ทางการศึกษา ตามมาตรา 47 ประเทศ มาตรา 83,93 ผู้ร่วมงาน มาตรา 89 ผู้บังคับบัญชา มาตรา 86,95 ตำแหน่งหน้าที่ มาตรา 84,85,90 ตนเอง มาตรา 82,86,87,88,91,92,94
หน้าที่ของผู้บังคับบัญชาในเรื่องวินัย 1. เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย 2. ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย 3. ดำเนินการทางวินัยแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งมีกรณี มีมูล ที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย
การสืบสวนทางวินัย การแสวงหาข้อเท็จจริงเบื้องต้น กรณีที่ มีการกล่าวหา หรือสงสัยว่าข้าราชการอาจกระทำผิด วินัย ว่า กรณีมีมูลน่าเชื่อหรือเป็นความจริงหรือไม่ เพียงใด เพื่อจะดำเนินการทางวินัยต่อไป ซึ่งต่างกับ “การสอบสวน”
การสอบสวนทางวินัย การรวบรวมพยานหลักฐาน และการดำเนินการ ทั้งหลาย เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริง และพฤติการณ์ ต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์เกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา และเพื่อ พิจารณาว่า ผู้ถูกกล่าวหาได้กระทำผิดวินัยจริงหรือไม่
ประเภทของการสืบสวน วิธีการสืบสวน ก่อนดำเนินการทางวินัย เพื่อพิจารณา ความผิดและกำหนดโทษ วิธีการสืบสวน โดยทางลับ โดยเปิดเผย
ผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง คณะกรรมการสืบสวน พรบ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวง- ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 12 30 37 39 - รมต.ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ - เลขาธิการ กพฐ. - ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา - ผู้อำนวยการสถานศึกษา
สิทธิของผู้ถูกร้องเรียนกล่าวหา 1. รับทราบข้อร้องเรียนกล่าวหาโดยละเอียด 2. รับทราบพยานหลักฐานที่สนับสนุน ข้อกล่าวหา 3. ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา นำพยานหลักฐานอ้าง 4. สิทธิที่จะนำทนาย หรือที่ปรึกษาเข้ามา ในการสืบสวน
การตรวจเสนอสำนวนเพื่อให้ผู้บังคับบัญชา พิจารณาสั่งการ 1) ตรวจสำนวนทั้งข้อกฎหมาย ข้อเท็จจริง เสนอความเห็น เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาสั่งการ 2) ไม่มีมูล ไม่ยุติเรื่อง โดยไม่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชา หน่วยเหนือขึ้นไป 3) กรณีความผิดเล็กน้อย ให้เสนองดโทษ ทำทัณฑ์บน เป็นหนังสือ หรือว่ากล่าวตักเตือน
4) กรณีมีมูลความผิดอย่างไม่ร้ายแรง ให้เสนอสถานโทษ พร้อมเสนอ 1. คำสั่งลงโทษ 2. หนังสือแจ้งต้นสังกัดเพื่อแจ้งผู้ถูกกล่าวหารับทราบ คำสั่ง ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง พร้อมแจ้งสิทธิ ในการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษให้ทราบ 3. หนังสือรายงานผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือ 5) กรณีมีมูลเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงเสนอผู้มีอำนาจ สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
การสอบสวนทางวินัย การสอบสวนที่ไม่เป็นกระบวนการตามกฎหมาย การสอบสวนที่เป็นกระบวนการตามกฎหมาย
หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวน 1. กรณีที่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นทำการสอบสวน 2. ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง 3. องค์ประกอบ คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน 4. คำสั่งแต่งตั้ง 5. การแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาและคณะกรรมการสอบสวนทราบ 6. การดำเนินการขั้นแรกของประธานกรรมการ 7. การคัดค้านกรรมการสอบสวน 8. การเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการ 9. ฐานะและอำนาจของกรรมการสอบสวน 10. หน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน
11. หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวนโดยทั่วไป 12. การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น 13. การแจ้งข้อกล่าวหา 14. การสอบสวนผู้ถูกกล่าวหา 15. การกำหนดประเด็นสอบสวน 16. การสอบสวนพยานบุคคล 17. การสอบสวนปรากฏกรณีทำผิดวินัยเรื่องอื่น 18. การสอบสวนพาดพิงถึงผู้อื่น 19. การสอบสวนข้าราชการตามมาตรา 115 20. การสอบสวนกรณีมีคำพิพากษาถึงที่สุด 21. การสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาย้ายหรือโอน
การสอบสวนกรณีเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา การรวบรวมพยานหลักฐาน การทำรายงานการสอบสวน การสอบสวนเพิ่มเติม การตรวจสอบความถูกต้องของการสอบสวน การพิจารณาสั่งการของผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน การกำหนดระยะเวลาในการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
การสั่งพักราชการ การให้ออกจาก ราชการไว้ก่อน
หลักนิติธรรม หลักมโนธรรม หลักความเป็นธรรม นโยบายของทางราชการ หลักการพิจารณากำหนดโทษ หลักนิติธรรม หลักมโนธรรม หลักความเป็นธรรม นโยบายของทางราชการ
กระบวนการไต่สวนของ ป.ป.ช. กรณี “ทุจริต” เกี่ยวพันกับการดำเนินการทางวินัยอย่างไร การตรวจสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น การไต่สวนข้อเท็จจริง ใช้หลักการพื้นฐานของกฎหมายมหาชน 2.1 หลักเรื่องการไม่มีส่วนได้เสีย 2.2 หลักการรับฟังข้อเท็จจริงสองฝ่ายขององค์กรวินิจฉัยชี้ขาดที่มีลักษณะตุลาการและกึ่งตุลาการ
2.3 หลักการให้เหตุผลประกอบคำวินิจฉัยขององค์กร วินิจฉัยชี้ขาด 2.3 หลักการให้เหตุผลประกอบคำวินิจฉัยขององค์กร วินิจฉัยชี้ขาด - วินิจฉัยอย่างละเอียด โดยให้ทุกฝ่ายโต้แย้งเต็มที่ - วินิจฉัยอย่างครบถ้วน มีเหตุผล จะรวบรัดไม่ได้ - วินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ว่ามีข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาอย่างไร 2.4 หลักการไม่มีผลย้อนหลังในกรณีขาดคุณสมบัติ หรือลักษณะต้องห้าม 2.5 หลักความโปร่งใส
ขั้นตอนการไต่สวน 1. แจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนไปให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ เพื่อเปิดโอกาส ให้ใช้สิทธิคัดค้าน 2. ประชุมกำหนดแนวทางหรือแจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ 3. รับฟังคำชี้แจงหรือสอบปากคำผู้ถูกกล่าหาหรือพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง 4. แสวงหาข้อเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐาน ทั้งนี้ - ห้ามมิให้ล่อลวง/ขู่เข็ญ/ให้สัญญาแก่ผู้ถูกกล่าวหาหรือพยาน - กรณีทีผู้ถูกกล่าวหาอาจก่อความเสียหายแก่ราชการหรือเป็นอุปสรรค ต่อการไต่สวน คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะสั่งพักราชการหรืองานก็ได้ 5. ประชุมพิจารณาพิเคราะห์พยานหลักฐาน กรณีมีมูลและยังไม่แจ้งข้อกล่าวหา ให้แจ้งข้อกล่าวหาและอาจดำเนินการตามข้อ 3 – 5 ต่อไป 6. จัดทำรายงานการไต่สวนข้อเท็จจริง ต้องมีรายละเอียดชื่อผู้กล่าวหา/ผู้ถูกกล่าวหา /ข้อกล่าวหา/สรุปข้อเท็จจริงที่ได้จากการไต่สวน/ข้อกฎหมาย/พิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายโดยใช้หลักเหตุผล/มติคณะอนุกรรมการไต่สวน 7. เสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ไม่ดำเนินการ/ ไม่ถูกต้องเหมาะสม 8. มติ กรรมการ ป.ป.ช. ๒ ใน ๓ ไม่มีมูล มีมูล ข้อกล่าวหาตกไป วินัย แจ้ง ๓ กลุ่ม อาญา ละเลย ผิดวินัย กลุ่ม 1 ผู้บังคับบัญชา/ผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอน ไม่ดำเนินการ/ ไม่ถูกต้องเหมาะสม พิจารณาโทษภายใน ๓๐ วัน ป.ป.ช. รายงาน นายกฯ สั่งตามที่เห็นสมควร แจ้ง ป.ป.ช. ภายใน ๑๕ วัน ก.พ. กรรมการที่มีหน้าที่ควบคุมการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิอุทธรณ์ดุลยพินิจ ในการสั่งการของผู้บังคับบัญชาภายใน 30 วัน
กรณี “ร่ำรวยผิดปกติ” เกี่ยวพันกับการดำเนินการทางวินัยอย่างไร กรณี “ร่ำรวยผิดปกติ” เกี่ยวพันกับการดำเนินการทางวินัยอย่างไร
กรณี “ฮั้ว” เกี่ยวพันกับการดำเนินการทางวินัยอย่างไร 1. การสมยอมราคาหมายความอย่างไร 2. การให้เงินหรือทรัพย์สินเพื่อให้มีการสมยอมราคาอย่างไรจึงเป็นความผิด 3. การสมยอมเสนอราคาเพราะถูกบังคับข่มขืนใจเป็นอย่างไร 4. กรณีการกีดกันหรือการทำให้ผู้เสนอราคาหลงผิดจนไม่สามารถเสนอราคาได้ เป็นอย่างไร 5. ถ้าผู้เสนอราคาแข่งขันกันจนปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้ จะถือว่าผู้เสนอราคารายนั้นผิดหรือไม่ อย่างไร 6. ถ้ามีเจ้าหน้าที่ของบริษัทห้างร้านที่เข้าเสนอราคากระทำผิด ผู้จัดการหรือผู้บริหารของบริษัทห้างร้านดังกล่าวไม่ได้เข้ามาร่วมในการเสนอราคา จะมีความผิด ด้วยหรือไม่ 7. เจ้าหน้าที่ของรัฐ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง จะมีส่วนกระทำความผิด ได้อย่างไร
แผนผังแสดงกระบวนการสอบสวน ข้อเท็จจริงโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว. ข้าราชการการเมืองอื่น ป.ป.ช. พบการทำผิด ศาลฎีกา แผนกคดีอาญา ผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ป.ป.ช. สอบสวน ข้อเท็จจริง อัยการสูงสุด มีการกล่าวหาร้องเรียน ผิดวินัย ผู้บังคับบัญชา ลงโทษ ทางวินัย เจ้าหน้าที่ ของรัฐอื่น ผิดอาญา อัยการสูงสูด ศาล
เทคนิควิธีการ ในการสืบสวนสอบสวน 1. กำหนดประเด็น 2. จัดระบบหรือวางแผน 3. พิเคราะห์พยานหลักฐาน ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย
จรรยาบรรณของผู้สืบสวนสอบสวน 1. เคารพต่อหลักสิทธิและเสรีภาพตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2. อำนวยความยุติธรรมแก่คู่กรณีอย่างเสมอภาคโดยถูกต้อง ตามกฎหมายและศีลธรรม 3. แสวงหาและรวบรวมพยานหลักฐานตามหลักเกณฑ์แห่ง กฎหมาย ไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 4. วิเคราะห์ข้อเท็จจริงให้ได้เหตุผล อันน่าเชื่อว่าผู้นั้น ได้กระทำความผิด ก่อนมีการแจ้งข้อกล่าวหา 5. ให้ความสำคัญและให้ความคุ้มครองต่อพยาน 6. รักษาความลับในการสอบสวน 7. สำนึกและยึดมั่นในวิชาชีพการสอบสวน
คุณลักษณะที่ดีของผู้ซักถาม 1. รู้หลักจิตวิทยา 2. มีความรู้ทั่วไปกว้างขวาง 3. มีเชาว์ไหวพริบ 4. มีบุคลิกภาพดี 5. มีความพากเพียรพยายาม 6. รู้จักทำความเชื่อมโยง 7. มีวาจาสัตย์ 8. ความสามารถในการสังเกตและอ่านกิริยาท่าทีผู้ถูกซักถาม
การเตรียมตัว แนะนำตัวเอง เริ่มต้นสนทนา ตั้งคำถาม เป็นผู้นำในการสนทนา ทบทวนข่าวสาร
ท่าทีของบุคคลที่ถูกสัมภาษณ์ 10 ประการ 1. ไม่รู้อะไรทั้งสิ้น 2. ไม่สนใจ ไม่ชอบให้ความร่วมมือ 3. ขี้เมา 4. ขี้สงสัย ขี้ระแวง 5. ช่างพูด ขี้คุย 6. พูดตามความจริง 7. พยานเท็จ 8. ขี้อาย 9. ขี้โม้ (เน้นบทบาทตัวเองมากเกินไป) 10. ปฏิเสธ
เทคนิคในการซักถาม 1. เกี่ยวกับอารมณ์ของผู้ที่ถูกซักถาม เห็นอกเห็นใจ 1. เกี่ยวกับอารมณ์ของผู้ที่ถูกซักถาม 2. แสดงความเป็นมิตร 3. ทำให้วิตกกังวล 4. ทำท่าขึงขัง เมตตากรุณา
หลักการถามปากคำผู้กล่าวหา 1. ให้โอกาสและเวลาแก่ผู้ให้ถ้อยคำให้คิดนึกทบทวนความจำ อย่าคาดคั้นหรือใช้คำถามหรือถ้อยคำเชิญชวนให้ความจำ คลาดเคลื่อนอาจทำให้คดีเสียได้ ถ้าผู้ให้ถ้อยคำนึกไม่ได้ ก็บันทึกเท่าที่จำได้หรือเหตุที่จำไม่ได้ 2. ระบุวัน เดือน ปี เวลา สถานที่เกิดเหตุ ตำบล อำเภอ และจังหวัดให้ชัดแจ้ง 3. พฤติการณ์อันเกี่ยวเนื่องแก่เหตุการณ์นั้น ๆ รวมทั้งสังเกตอาการและกิริยาผู้ให้ปากคำด้วย 4. มีใครรู้เห็นในเมื่อมีเหตุนั้นบ้างและมีใครอยู่ใกล้เคียง ที่เกิดเหตุบ้าง หรืออ้างวัตถุ เอกสาร พยาน อย่างไรบ้าง
เทคนิคการจดคำพยาน 1. ต้องให้พยานเล่าทุกสิ่งทุกอย่างที่รู้เห็นมาเกี่ยวกับ ข้อเท็จจริงนั้นด้วยวาจาตั้งแต่ต้นจนจบ และซักถามจนเข้าใจเรื่องราวจากปากคำจนกระจ่างที่สุดจึงเริ่มบันทึก 2. การจดบันทึก ต้องจดให้ตรงกับที่ให้การและตรงประเด็น 3. จะซักถามอย่างไรต้องรู้ว่าข้อกล่าวหามีประเด็นอย่างไร 4. ต้องพิจารณาด้วยว่าเป็นพยานประเภทใด เช่น ประจักษ์พยาน พยานบอกเล่า หรือพยานพฤติเหตุแวดล้อม 5. ต้องบันทึกปากคำพยานทุกปาก แม้จะมีข้อเท็จจริงเหมือนกัน 6. การให้การว่าไม่รู้ไม่เห็นของพยานจะต้องบันทึกไว้ อย่าปล่อย ทิ้งไป
7. พยานแวดล้อมในกรณีไม่มีประจักษ์พยานเป็นเรื่องสำคัญ 8. การสอบถามปากคำพยานและการให้การต้องมีลักษณะ ตอบคำถามอยู่ในตัวว่าใคร ทำอะไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร ทำทำไม ทำอย่างไร ผลเป็นอย่างไร 9. การให้การของพยานพาดพิงไปถึงบุคคลอื่นต้องสอบปากคำ พยานที่ถูกพาดพิงถึง 10. เมื่อบันทึกคำให้การเสร็จเรียบร้อยแล้วต้องอ่านให้ ผู้ให้ถ้อยคำฟังอีกครั้งหนึ่งและบันทึกว่า “อ่านให้ฟังแล้วรับว่า ถูกต้อง จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน” 11. การสอบสวนเพิ่มเติมทุกครั้งต้องอ่านคำให้การเดิม ให้ผู้ให้ถ้อยคำฟังก่อนทุกครั้ง
หลักการทำแผนที่เกิดเหตุ 1. ต้องให้พยาน หรือผู้เกี่ยวข้องเป็นผู้นำชี้สถานที่เกิดเหตุ พร้อมลงลายมือชื่อ 2. ต้องแสดงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น 3. ต้องถ่ายรูปสถานที่เกิดเหตุ 4. อาจติดต่อเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญมาร่วมตรวจสถานที่ เกิดเหตุ และถ่ายรูปเมื่อเห็นว่าจะทำให้การพิสูจน์ความผิด แน่นอนยิ่งขึ้น
ปัญหาอุปสรรคในการสืบสวนสอบสวน 1. อำนาจในการสืบสวนสอบสวน 2. ให้ความร่วมมือของพยานบุคคล หรือหน่วยงาน 3. เอกสารที่สูญหายหรือถูกทำลาย