สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ รพ.สมุทรสาคร
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
แผนการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่นๆ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
“การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร” (Road Traffic Injury)
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560 แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2561 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560

การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร (Road Traffic Injury) เป้า อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนปี 2561 ไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี 2553-2555 ถนน รถ มาตรการ ขยับ : จุดคานงัด จุดจัดการสู่อำเภอ RISK เร็ว ดื่มขับ อื่น ๆ ใม่ใช้ หมวก/ belt มาตรการ 4x4

การดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ปี 2561 (กระทรวง) เป้าหมายประเทศ : อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน *** เป้าหมายรายจังหวัด : ลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 21 จากค่ามัธยฐานปี 2553-2555 มาตรการบริหารจัดการ 1.SAT/EOC-RTI คุณภาพ 2.TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) 3. สสอ./รพช./คปสอ. เป็น เลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ 4. อำเภอมีการบูรณาการงาน RTI ใน DHB มาตรการข้อมูล (4I) 1. Integration Data 3 ฐาน 2. IS online (รพ. A S M1) 3. Investigation online 4. Information Black Spot นำเสนอข้อมูลผ่าน ศปถ. อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ ไตรมาส มาตรการป้องกัน (D-CAR) 1. D-RTI ปี 2 (อำเภอ) 2. Community Road Safety (ชุมชน/ตำบล/หมู่บ้าน) 3. Ambulance Safety 4. RTI Officer เจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เน้น รถพยาบาล รถยนต์ราชการ (ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน) มาตรการรักษา (2EIR) 1. EMS คุณภาพ 2. ER คุณภาพ 3. In-hos คุณภาพ 4. Referral System Quick win ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 เสนอข้อมูลการตายที่เป็นทางการต่อ ศปถ.ประเทศ การจัดอบรม IS online (รพ. A S M1) อย่างน้อย 6 เขต มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (760 จุด) จังหวัดรายงานการ บูรณาการข้อมูลการตาย ครบทุกจังหวัด (76 จังหวัด) อำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ตามเป้าหมาย (322 อำเภอ) 2. มีการรายงานผลการสอบสวนผ่าน Investigation online ตามเกณฑ์ รพ. A S M1 มีระบบรายงาน IS online อย่างน้อย 80% มีอำเภอ D-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% (161 อำเภอ) มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (1,520 จุด) จำนวนครั้งและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง ผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิตไม่เกิน 1% ใน รพ. A S M1 *** เป้าหมายรายจังหวัด จำนวนผู้เสียชีวิตจากการจราจรทางถนนลดลงร้อยละ 21 สามารถค้นข้อมูลรายละเอียดได้ที่ www.thaincd.com

การเชื่องโยงมาตรการในจังหวัด มิติด้านหน่วยงานที่ปฏิบัติในจังหวัด กิจกรรมการดำเนินงาน สสจ. 1. Integration Data 3 ฐาน 2. Investigation online (ในแง่การบริกหารจัดการในจังหวัด) 3. Information Black Spot นำเสนอข้อมูลจุดผ่าน ศปถ.จังหวัด/อำเภอ อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ไตรมาส 4. SAT/EOC-RTI วิเคราะห์ข้อมูลสู่มาตรการป้องกันสนับสนุน อำเภอ/ท้องถิ่น โรงพยาบาล ศูนย์/ทั่วไป 1. TEA Unit คุณภาพ (รพ. A S M1) 2. IS online (รพ. A S M1) 3. Ambulance Safety 4. RTI Officer เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เน้น รถพยาบาล รถยนต์ราชการ (ฝ่ายบริหารยานพาหนะของหน่วยงาน) *(ดำเนินการทุกระดับ) 5. การรักษาพยาบาล EMS/ER/In-hos/Refer อำเภอ รพ.ในอำเภอ สสอ./คปสอ. 1. สสอ./รพช./คปสอ. เป็นเลขาร่วมใน ศปถ. อำเภอ 2. อำเภอมีการบูรณาการงาน RTI ใน DHB 3. Community Road Safety (ชุมชน/ตำบล/หมู่บ้าน) 4. D-RTI ปี 2 (อำเภอ) Virtual office ส่วนกลางจะสร้างรูปแบบการทำศูนย์ข้อมุลและสั่งการแบบ Online หากสำเร็จและปฏิบัติการได้ดี ในอนาคตจะเอื้อประโยชน์ให้ระดับพื้นที่ได้เข้าใช้ด้วย เขตสุขภาพควรมีแผนงานสนับสนุนงาน RTI โดยมองปัญหาอุบัติเหตุเป็น สายทาง โดยเฉพาะเคสทางหลวงแผ่นดินที่มี fatality rate ค่อนข้างสูง การแก้ปัญหาจะต้องมีความต่อเนื่อง ไร้รอยต่อบนสายทาง งาน SAT และ EOC ในระดับ สคร. และ สสจ. ควรมีความเป็นรูปธรรม มีผู้รับผิดชอบชัดเจน โดยโครงสร้างอาจอยู่ร่วมกับงานระบาด งาน EMS หรืองานควบคุมโรคก็ได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน

การเชื่องโยงมาตรการในจังหวัด มิติด้านมาตรการ การเชื่อมโยงมาตรการ การจัดการข้อมูล *จังหวัดจัดการข้อมูลสนับสนุนอำเภอ 1. Integration Data (จากหลายแหล่ง) 2. Investigation online (ในแง่การบริกหารจัดการในจังหวัด) 3. TEA Unit คุณภาพ/IS online (รพ. A S M1) 4. Information Black Spot นำเสนอข้อมูลจุดผ่าน ศปถ.จังหวัด/อำเภอ/ท้องถิ่น ผ่าน D-RTI 5. SAT/EOC-RTI วิเคราะห์ข้อมูลสู่มาตรการป้องกัน ทั้งระดับจังหวัด/อำเภอ/ท้องถิ่น () การจัดการในระดับอำเภอ ขับเคลื่อนสู่ท้องถิ่น 1. สสอ./รพช./คปสอ. เป็นเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ 2. อำเภอมีการบูรณาการงาน RTI ใน DHB 3. Community Road Safety (ชุมชน/ตำบล/หมู่บ้าน) 4. D-RTI ปี 2 (อำเภอ) รถพยาบาลปลอดภัย 1. Ambulance Safety 2. RTI Officer เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางถนน (จปถ.) เน้น รถพยาบาล รถยนต์ราชการ (ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน/ยานพาหนะ) การรักษาพยาบาล EMS/ER/In-hos/Refer Virtual office ส่วนกลางจะสร้างรูปแบบการทำศูนย์ข้อมุลและสั่งการแบบ Online หากสำเร็จและปฏิบัติการได้ดี ในอนาคตจะเอื้อประโยชน์ให้ระดับพื้นที่ได้เข้าใช้ด้วย เขตสุขภาพควรมีแผนงานสนับสนุนงาน RTI โดยมองปัญหาอุบัติเหตุเป็น สายทาง โดยเฉพาะเคสทางหลวงแผ่นดินที่มี fatality rate ค่อนข้างสูง การแก้ปัญหาจะต้องมีความต่อเนื่อง ไร้รอยต่อบนสายทาง งาน SAT และ EOC ในระดับ สคร. และ สสจ. ควรมีความเป็นรูปธรรม มีผู้รับผิดชอบชัดเจน โดยโครงสร้างอาจอยู่ร่วมกับงานระบาด งาน EMS หรืองานควบคุมโรคก็ได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน

เป้าหมายการดำเนินงานรายไตรมาส Quick win RTI ปี 2561 (กระทรวงสาธารณสุข) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เสนอข้อมูลการตายที่เป็นทางการต่อ ศปถ.ประเทศ (ส่วนกลาง) การจัดอบรม IS online (รพ. A S M1) อย่างน้อย 6 เขต (ส่วนกลาง) มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (760 จุด) (สสจ.) จังหวัดรายงานบูรณาการข้อมูลการตาย ครบทุกจังหวัด (76 จังหวัด) (สสจ.) อำเภอที่ดำเนินการ D-RTI ตามเป้าหมาย (อำเภอ/สสจ/สคร.) 2. มีการรายงานผลการ สอบสวนผ่าน Investigation online ตามเกณฑ์ (พื้นที่/ส่วนกลาง) มีระบบรายงาน IS online อย่างน้อย 80% (รพ. A S M1/ส่วนกลาง) 2. มีอำเภอ D-RTI ผ่านเกณฑ์ระดับดี 50% (161 อำเภอ) (อำเภอ/สสจ/สคร./ส่วนกลาง) มีการชี้เป้าจุดเสี่ยงผ่าน ศปถ. ทุกจังหวัด (1,520 จุด) (สสจ.) จำนวนครั้งและผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถพยาบาลลดลง (โรงพยาบาล/ส่วนกลาง) ผู้บาดเจ็บจากทางถนนที่มีค่า Ps>0.75 เสียชีวิตไม่เกิน 1% ใน รพ. A S M1

การติดตามประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข (ระบบการรายงาน) กระทรวงสาธารณสุข (ระบบการรายงาน) จัดทำระบบติดตามการดำเนินงานผ่าน Quick Win ของกระทรวงสาธารณสุข รายไตรมาส ผ่าน Web Base ของสำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน สป. และสำนักโรคไม่ติดต่อ http://ict-pher.moph.go.th/quickwin ประเด็นตรวจราชการ (ระบบกำกับติดตาม) สำนักตรวจและประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สตป.) จัดทำประเด็นตรวจราชการ กลุ่มวัยทำงาน (คณะที่ 1) และแบบฟอร์ม ตก.1 และ ตก.2 การตรวจราชการแบบบูรณาการ (คณะ 5 ) บางประเด็น PA กรมควบคุมโรค (KPI ระดับกรม) D-RTI มีอำเภอเสี่ยงสูงสุดอันดับ 1 ของจังหวัด และอำเภอที่เหลือไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 จำนวน 322 อำเภอ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี (Good) มากกว่า 50% ของอำเภอที่ดำเนินการหรือมากกว่า 161 อำเภอ จำนวนอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีขึ้นไปที่มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง คิดเป็น 30% (หรืออย่างน้อย 50 อำเภอ)

THANK YOU สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค