แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
น.พ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา อธิบดีกรมอนามัย
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
PMQA Organization 2 รหัสแนวทางการดำเนินการ การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ IT1 ส่วนราชการต้องมีระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติราชการ.
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
แผนงานโครงการ หน่วยศึกษานิเทศก์ ผล ปีงบประมาณ 2558 แผน ปีงบประมาณ 2559.
การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
Health Promotion & Environmental Health
นพ.โภคิน ศักรินทร์กุล โรงพยาบาลลำพูน
รายงานความก้าวหน้า การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและโจทย์วิจัย Cluster SALTH
บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4
แผนแม่บทการจัดการความรู้ ปี
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
เขตสุขภาพที่ 11 นพ. ประกอบ ลือชาเกียรติศักดิ์
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
โรงพยาบาลจันทรุเบกษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
제 10장 데이터베이스.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
รายงานผลการจัดการความรู้ ปี ……… ระดับส่วนงาน ระดับบุคคล ชื่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ. 2551 - 2554

บทที่ 1 สถานการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ บทที่ 1 สถานการณ์ที่มีผลต่อสุขภาพ โครงสร้างประชากร เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ระบบราชการ ระบบบริการสาธารณสุข

บทที่ 2 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม บทที่ 2 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาสมรรถนะบุคลากร

บทที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ บทที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ลดปัจจัยเสี่ยงในวัยเรียนและเยาวชน แก้ปัญหาโรคอ้วน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

องค์กรหลักในการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ 31 หน่วยงาน ......... 65 ล้านไทย Partner Invest Regulate Advocate Build Capacity H E A L T H

P - สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร จุดมุ่งหมาย เกิดภาคีเครือข่ายทุกระดับและทุกมิติที่มีความเข้มแข็งและมีความสามารถเป็นกลไกผลักดันและขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 1.1 สร้างเสริมบทบาทและศักยภาพภาคีเครือข่ายในการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการอย่างมีส่วนร่วม เสริมสร้างความรู้ในการแก้ไขปัญหาเน้นการปฏิบัติจริง พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบและวิธีทำงานเพื่อการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนภาคีเครือข่าย ร้อยละของอปท.ที่มีโครงการและงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 1.2 พัฒนาฐานข้อมูลเครือข่ายในประเทศและต่างประเทศ พัฒนาฐานข้อมูลให้ถูกต้อง ทันสมัย จัดทำแผนที่(Mapping) บุคลากร หน่วยงานฯที่มีศักยภาพ ใช้ประโยชน์จากแผนที่ฯสร้างแรงจูงใจและขยายความครอบคลุมของงาน พัฒนาระบบเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ฐานข้อมูลบุคลากร หน่วยงาน องค์กร ชมรมในและต่างประเทศ แผนที่บุคลากร หน่วยงานฯที่มีศักยภาพ ช่องทางการเข้าถึงและแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์และ ต้นแบบที่ดี

I - ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน จุดมุ่งหมาย มีโครงสร้างและระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถจัดการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพโดยได้รับความร่วมมือและงบประมาณจากรัฐบาล พันธมิตรภาครัฐ เอกชนและองค์กรภาคประชาชน I - ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.1 แสวงหาแหล่งทุนและบริหารจัดการทุนอย่างมีคุณภาพ แสวงหาแหล่งทุนโดยมีความรู้เกี่ยวกับหลักการ แนวทางของแหล่งทุนและวิธีการเข้าถึง วางแผนและบริหารงบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ วิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการใช้งบประมาณ อัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นของงบประมาณเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้จ่ายงบประมาณ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.2 พัฒนาองค์กรเป็นศูนย์กลางทางวิชาการด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโครงสร้างเฉพาะด้านของหน่วยงาน พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากการวิจัยและพัฒนาที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพ พัฒนาความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนบุคลากรและเทคโนโลยีในประเทศและต่างประเทศ จำนวน best practice model ที่นำไปขยายผลเป็นที่ยอมรับของผู้รับประโยชน์ จำนวนผลงานวิจัยและพัฒนาที่ส่งมอบให้ผู้รับประโยชน์ ระดับความพึงพอใจของผู้รับประโยชน์

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 2.3 พัฒนาระบบและกลไกการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการให้มีศักยภาพสูง พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานครบวงจร six key functions เพิ่มประสิทธิภาพด้วยเครื่องมือที่มีคุณภาพและเหมาะสม จัดทำ/ปรับปรุงฐานข้อมูลและคลังความรู้ จัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนำสู่การปฏิบัติ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับส่วนราชการหรือองค์กรอื่นที่มีภารกิจคล้ายคลึงกัน มีระบบการบริหารต้นทุนและการบริหารความเสี่ยงในโครงการสำคัญ มีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ PMQA

R - พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ จุดมุ่งหมาย มีนโยบายสาธารณะและกฎหมายด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับชาติและระดับท้องถิ่นที่คุ้มครองสุขภาพประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน H E A L T H

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.1 สร้างนโยบายสาธารณะ และพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิตของประชาชน โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สร้างกระบวนการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัด จัดทำแผนพัฒนากฎหมายของกรมอนามัย กำหนดแนวทาง/เกณฑ์ปฏิบัติ และข้อกฏหมายบนฐานความรู้และบริบทของพื้นที่ จำนวนนโยบายสาธารณะด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม จำนวนกฎกระทรวง/ประกาศ/คำแนะนำ และเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ส่งเสริมการออกเทศบัญญัติ/ข้อบัญญัติท้องถิ่น สร้างกระบวนการ ช่องทางและกลไกรับฟังความคิดเห็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.2 ส่งเสริมการบังคับใช้กฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรม พัฒนาศักยภาพเจ้าพนักงานและเครือข่ายระดับพื้นที่ สร้างหลักประกันความเป็นธรรมในการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข ติดตาม กำกับ และประเมินการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข ความสำเร็จของการใช้มาตรการด้านกฎหมายสาธารณสุข

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบาย และกฎหมายด้านสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3.3 จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติ(SOP) ในการสร้างนโยบายสาธารณะและการพัฒนากฎหมาย จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติในการสร้างนโยบายสาธารณะ จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติในการพัฒนากฎหมาย สร้างกระบวนการ ช่องทาง และกลไกการนำมาตรฐานฯสู่การปฏิบัติ มาตรฐานการปฏิบัติในการสร้างนโยบายสาธารณะด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการปฏิบัติในการพัฒนากฎหมายด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

A - สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จุดมุ่งหมาย ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความรู้ ความเข้าใจในความสำคัญและประโยชน์ของการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการสิ่งแวดล้อม สามารถดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม และมีส่วนร่วมในการลด ละ เลิก พฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม A - สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 4.1 ส่งเสริมบทบาทของสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะในการสร้างค่านิยม “สร้างนำซ่อม” จัดทำฐานข้อมูลสื่อทุกแขนง สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมืออันดีกับสื่อทุกแขนง เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของสื่อในงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตสื่อ สารสนเทศที่ดึงดูดความสนใจของสื่อและประชาชน ฐานข้อมูลสื่อมวลชนทุกแขนง พื้นที่และช่องทางเผยแพร่ความรู้ในสื่อชุมชนและสื่อสาธารณะเพิ่มขึ้น

แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 4.2 สื่อสารประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดความรู้ด้วยวิธีการ สื่อและเทคโนโลยีที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนยุทธศาสตร์การสื่อสารสาธารณะของกรมอนามัยและนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม รณรงค์สื่อสารความเสี่ยงและขับเคลื่อนสังคมสุขภาพดีเพื่อสร้างความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง แผนยุทธศาสตร์การสื่อสารสาธารณะของกรมอนามัย ช่องทางและรูปแบบการสื่อสารที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 3. ส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนารูปแบบการสื่อสารสองทางเน้นการมีส่วนร่วม 4. สร้างระบบเฝ้าระวังและปรับปรุงข้อมูลให้ทันสถานการณ์ 5. ผลิตและพัฒนาเนื้อหา เครื่องมือ และวิธีการถ่ายทอด 6. บริหารความสัมพันธ์และเรียนรู้ความต้องการของผู้รับบริการ ภาคีทุกภาคส่วน

B - พัฒนาสมรรถนะบุคลากร จุดมุ่งหมาย พัฒนาบุคลากรกรมอนามัยให้มีความพร้อม ความสามารถในการปฏิบัติงานและสร้างคุณค่าต่อสังคม H E A L T H

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 5.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมอนามัยเพื่อยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานขององค์กรให้เทียบเท่าเกณฑ์สากล จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัยและนำสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จัดระบบการเรียนรู้และพัฒนาเน้นเรียนจากประสบการณ์จริง จากกรณีศึกษา coaching, mentoring, sharing แผนการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผน ระดับสมรรถนะของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับความพึงพอใจของบุคลากร

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด ปรับโครงสร้างการบริหารงานและบริหารบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์มุ่งผลสัมฤทธิ์ เสริมสร้างระบบคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ปรับปรุงระบบสรรหา กลั่นกรองและประเมินผลบุคคลให้โปร่งใสเป็นที่ยอมรับ พัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรเพื่อสร้างขวัญกำลังใจและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาสมรรถนะบุคลากร แนวทาง มาตรการ ตัวชี้วัด 5.2 สนับสนุนการลงทุนเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย จัดทำแผนงบประมาณเพื่อสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ประสานแหล่งทุนในประเทศและต่างประเทศ สัดส่วนงบประมาณเพื่อการพัฒนาบุคลากรกรมอนามัย

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 1. สร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร SYSTEM เสริมสร้างความเข้มแข็งของพันธมิตรภาคีเครือข่าย

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 2. ลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างและระบบงาน SYSTEM พัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการภาวะคุกคามทางสุขภาพ วิจัยและพัฒนา ติดตามและประเมินผล DRIVER -พัฒนาระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร -บริหารจัดการความรู้

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 3. พัฒนากระบวนการกำหนดนโยบายและกฎหมายด้านสุขภาพ SYSTEM - พัฒนา ผลักดัน แก้ไขกฎหมาย ระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 4. สร้างความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ SYSTEM -ขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ DRIVER -เรียนรู้และแสวงหาความต้องการของผู้รับบริการ

ความเชื่อมโยงระหว่าง PIRAB และ PMQA 5. พัฒนาสมรรถนะบุคลากร DRIVER -วางแผนและพัฒนาทรัพยากรบุคคล -วางแผนกลยุทธ์อย่างมีส่วนร่วมและบูรณาการ

ขั้นตอนการขับเคลื่อนเพื่อการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ จุดมุ่งหมาย โครงการ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย งบประมาณ การติดตามและประเมินผล เสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ในและนอกหน่วยงาน

เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ เป้าหมายและแผนปฏิบัติการ ระดับและความสำคัญเพื่อการสื่อสารและขับเคลื่อนมุ่งสู่เป้าหมาย สื่อสารให้ภายนอกรับรู้ : ภาคี พันธมิตร ประชาชน วิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าหมาย และแผนยุทธศาสตร์ (ระดับองค์กรโดยรวม) สื่อสารให้ภายในรับรู้ : เป็นการจูงใจ เป็นแนวทาง เป็นหลักการและเหตุผล เป็นมาตรฐาน เป้าหมายและแผนกลยุทธ์ (ระดับหน่วยงาน) เป้าหมายและแผนปฏิบัติการ (ระดับกลุ่มงาน ฝ่าย บุคคล) อ้างอิงจากดร.พรเทพ พิมลเสถียร

สิ่งที่ควรคำนึงเมื่อต้องแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ พิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องคำนึงถึงในการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ อาทิ บุคลากร ระบบ ข้อมูล วัฒนธรรม โครงการ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ สร้างความเชื่อมั่นว่ายุทธศาสตร์จะสัมฤทธิผล ด้วยโครงการที่เสนอ การจัดทำข้อเสนอโครงการที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ การคัดเลือกและจัดลำดับความสำคัญของโครงการ เพื่อคัดเลือกโครงการที่ส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์โดยตรง เพื่อติดตามความคืบหน้าในการดำเนินงาน และสามารถปรับตัวและแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์ การติดตามโครงการ เพื่อประเมินว่าโครงการนำไปสู่ Output/Outcome ที่ต้องการ และบรรลุตามยุทธศาสตร์หรือไม่ การประเมินผลโครงการ อ้างอิงจาก ดร.พรเทพ พิมลเสถียร

คำถาม ข้อเสนอแนะ