แฟรนไชส์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเทศจีนในทรรศนะของผู้ประกอบการ
Advertisements

Time แบ่งเป็น และ เข็มยาวเดินตั้งแต่ เลข 12 ถึง เลข 6 ใช้ after , past
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
แม่ชีเทราซ่า เคยกล่าวไว้ว่า การเป็นนักบริหารให้สำเร็จนั้น มีข้อคิด 2 ประการ 1. Do you know your people 2. Do you really love them.
ช่องทางการตลาดของธุรกิจบริการ (Marketing Channels for Services)
บทที่ 13 การค้าส่งและการค้าปลีก (Wholesaling and Retailing)
บทที่ 4 กระบวนการตัดสินใจ
การใช้โปรแกรมแปลงไฟล์วีดีโอ
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
ทุนทางปัญญา Intellectual Capital KM 743 Session 2
5FORCE Analysis Kleokamon boonyeun
สัปดาห์ที่ 6 บทที่ 4, 5, 6 1. ดอกเบี้ ย 1.1 Nominal Rate = r m 1.2 Effective Rate = 1+ r - 1 m m
หน้าหลัก เมนูหลัก ย้อนกลับ ถัดไป หน้าหลัก เมนูหลัก ย้อนกลับ.
สื่อเสริมการเรียนรู้
บทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ
สนามกอล์ฟ.
แม่ชีเทราซ่า เคยกล่าวไว้ว่า การเป็นนักบริหารให้สำเร็จนั้น มีข้อคิด 2 ประการ 1. Do you know your people 2. Do you really love them.
The Faulty Kettle.
การค้นคืนสารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล 16 กรกฎาคม 2548.
22 – 24 มกราคม 2016 ( ศุกร์ – อาทิตย์ ) Tatmadaw Hall, Yangon Supported ByOrganized By MyanmarFranchise.net Media Partner.
UNIT 1 A1 Hello, Mr. Jones Part I.
บทที่ 4 การใช้งาน โปรแกรมประมวลผลคำ
Cardinal number = จำนวนนับ Ordinal number = ลำดับที่
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 4 ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management Program.
โดย…ศรีอัมพร หนูกลับ นักวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ คือ ขั้นตอนทางสถิติโดยใช้ผังควบคุมช่วยเพื่อดูว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตทำงานไม่ถูกต้องและเป็นสาเหตุทำให้สินค้าไม่มีคุณภาพ.
ของการบริหารแฟรนไชส์ 7-Eleven
วิทยากร : ธรรศ ทองเจริญ
D 1 E 1 S E M N G ม. I G I T Vocabulary A L 4.0.
SERVICE MARKETING การส่งมอบบริการสำหรับธุรกิจบริการ
SERVICE MARKETING การตั้งราคาบริการ
บทที่ 10 การวางแผนธุรกิจ
กระทรวงยุติธรรม   รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ  แนวทางการปฏิรูปประเทศ
กระทรวงยุติธรรม  แนวทางการปฏิรูปประเทศ  การปรองดองสมานฉันท์
การประชุมจัดทำ Roadmap กระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
Chicken Mussaman curry steak
Welcome! ภาคการศึกษา 2 /2546 วิชา การเงินระหว่างประเทศ (International Finance) ผู้สอน ดร. ลักคณา วรศิลป์ชัย 4/10/2019.
ลำดับ A B C D CD AB.
การคิดราคาขาย การลดต้นทุน และการวางแผนจัดนำเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
อ.สิรินี ว่องวิไลรัตน์ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่าย และการกระจายสินค้า
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
Origin Group Present.
การบริหารระบบลูกโซ่ความเย็น ในระบบยา
การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ปี พ. ศ
การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่
ปฏิกิริยาเคมี Chemical Reaction
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้บริโภคการตลาดบนอินเตอร์เน็ต และการโฆษณา
สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
อาจารย์ประจำวิชาอภิธาน
(Rice Analysis) จังหวัดอุทัยธานี การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
การบริหารบุคลากรด้านการเงิน และทรัพยากรในภาครัฐ
ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สมัยโบราณ พระราชา  มักจะพระราชทานสิทธิพิเศษที่ให้แก่ข้าราชบริพารหรือพวกขุนนาง.
ธุรกิจแฟรนไชส์. ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไซส์ แฟรนไชส์ (Franchise)  เป็นคำศัพท์ที่มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส  คือ " Franchir " แปลว่า  " สิทธิพิเศษ " สิทธิพิเศษที่บริษัทแม่มอบให้กับผู้ที่เข้าร่วมกิจการโดยสิทธิพิเศษนี้จะครอบคลุมระบบเกือบทั้งหมด.
สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
11/17/2010.
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
Internal Logos DIY Design Guide V
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แฟรนไชส์

แฟรนไชส์คืออะไร?

แฟรนไชส์ (ฝรั่งเศส : franchise) เป็นชื่อเรียกการทำธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและการจัดจำหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม โดยเริ่มมาจากบริษัท ทำรางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขายสิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการทำงานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทำให้มีแบบแผนในการจัดการไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทำธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ในรูปแบบของการทำงานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดำเนินธุรกิจในทุกๆสาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท

ประวัติของแฟรนไชส์

ประวัติ การพัฒนาของระบบ 'แฟรนไชส์‘ นั้นเริ่มจากบริษัทซิงเกอร์ ในปี ค.ศ.1850 โดยซิงเกอร์เป็นผู้วางระบบการค้าปลีกแก่ร้านลูกข่ายโดยมีการอบรมและการมอบรูปแบบการพัฒนาการจัดการร้านในแบบของบริษัทถือเป็นต้นแบบเสมือนเป็นแฟรนไชซอร์ ซิงเกอร์นั้นใช้วิธีสร้างเครือข่ายการขายปลีกด้วยระบบพนักงาน และการเป็นตัวแทนจำหน่าย โดยมีค่าใช้จ่ายเพียงค่าสิทธิ์ในการเป็นผู้จัดจำหน่าย ในระดับภูมิภาค แม้ว่าการจัดการในระบบของซิงเกอร์จะไม่สมบูรณ์แต่ก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มทำธุรกิจในระบบนี้เลยที่เดียว

การพัฒนาแฟรนไชส์

การพัฒนา หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่นานร้านค้าปลีกที่ยังดำเนินกิจการอยู่ได้ทำการยกระดับธุรกิจจากการพัฒนาตัวสินค้า เปลี่ยนมาเป็นงานบริการแทน โดยการให้บริการแบบขับรถเข้าไปซื้อ เนื่องจากมีคนจำนวนมากที่มาอยู่ในบริเวณ ชานเมืองมักจะมีรถและต้องการความรวดเร็วในการซื้อสินค้าไปทานข้างนอก โดยรูปแบบนี้มีร้านตัวแทนเป็นจำนวนมากกระจายลงสู่พื้นที่ โดย แบรนด์สินค้าแรกคือ A&W และเทสตี้ ฟรีซ (Tastee Freeze) ที่กลายเป็นที่นิยมกันข้ามประเทศ ซึ่งเป็นจุดต่อของรูปแบบแฟรนไชส์อย่างเต็มรูปแบบ Format Franchising ในยุค ค.ศ.1950 เชื่อมมาสู่อีกยุคหนึ่งโดย แมคโดนัลด์, เบอร์เกอร์คิงส์, ดังกิ้นโดนัท, เคเอฟซี และฟาสท์ฟู้ด เกิดแฟรนไชส์ระดับชาติในช่วงเวลา ดังกล่าว

ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยที่มีการริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. 2526 ธุรกิจแรกๆ ที่พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรนไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แต่ส่วนใหญ่จะมีปัญหาในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทำธุรกิจแบบซื้อเพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง บางครั้งยังใช้การบริหารแบบเก่าที่เน้นความเป็นระบบครอบครัวทำให้อัตราความล้มเหลวธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยในภาพรวม บางครั้งการลงทุนของแฟรนไชส์ซีที่ประสบปัญหาเกิดจากการจัดการของตนเองบ้าง หรือก็เกิดจากระบบงานของบริษัทแม่ที่เน้นการขยายธุรกิจที่มุ่งผลทางการตลาด

รูปแบบและปัจจัย

รูปแบบและปัจจัย ธุรกิจแฟรนไชส์จะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลัก 3 ประการคือ 1.มีผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่าย ก็คือแฟรนไชส์ซอร์ และแฟรนไชส์ซี ซึ่งมีการตกลงร่วมในการทำธุรกิจร่วมกันทั้งมีสัญญาและไม่มีสัญญา แต่ในอนาคตรูปแบบข้อตกลงจะปรับรูปสู่ระบบการสร้างสัญญาทั้งหมด เพื่อให้ทั้งระบบแฟรนไชส์ในตลาดจะต้องถูกระบบ เพราะไม่เช่นนั้นแฟรนไชส์ซีที่ไม่ดีจะทำลายระบบด้วย 2.เครื่องหมายการค้า หรือบริการ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบ ระบบธุรกิจ และใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ระบบการจัดการธุรกิจอาจจะเป็นเครื่องมือ หรือสูตรที่คิดค้นขึ้นมาเอง ในการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมีมาตรฐานที่อยู่ในตราสินค้า Brand เดียวกัน 3.มีการจ่ายค่าตอบแทนอย่างน้อย 2 อย่าง คือ ค่าแรกเข้าในการใช้เครื่องหมายการค้า (Franchise Fee) และค่าตอบแทนผลดำเนินการ (Royalty Fee)

ตัวอย่างแฟรนไชส์

Seven Eleven McDonald’s

KFC Chester’s grill

สมาชิกในกลุ่ม นางสาวธัชพรรณ สุทธิเสริม เลขที่ 19 ม.4/3 นางสาวธัชพรรณ สุทธิเสริม เลขที่ 19 ม.4/3 นางสาวอารยา สุวรรณ์ เลขที่ 25 ม.4/3 นายวิริทธิ์พล คงชม เลขที่ 26 ม.4/3 นางสาวอัญชิสา สุทธิผล เลขที่ 28 ม.4/3