แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
Advertisements

สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
การขับเคลื่อน แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลนครพิงค์ ปีงบประมาณ 2561สู่ MOPH 4.0.
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
ครั้งที่ 10/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
Service Plan in Kidney Disease
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
Risk Management System
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
Service Plan สาขาโรคมะเร็ง.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คณะที่ 2:การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7 Service plan แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7 “ร้อยแก่นสารสินธุ์” คณะ 2

เขตสุขภาพที่ 7 S S ประชากรรวม 5,043,862 คน กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม เตียงรวม 6,374 เตียง กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 984,907 คน 1,790,049 คน 1,372 เตียง S 2,230 เตียง มหาสารคาม 960,588 คน ร้อยเอ็ด 1,308,318 คน 1,230 เตียง 1,542 เตียง 77 อำเภอ 658 ตำบล 8,163 หมู่บ้าน ที่มา: สบรส. พฤษภาคม 2559

เครือข่ายโรงพยาบาล เขตสุขภาพที่ 7

การดำเนินงานจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ระหว่างเขตสุขภาพ กับ มหาวิทยาลัย การดำเนินงานจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศ ระหว่างเขตสุขภาพ กับ มหาวิทยาลัย

MOU ประเด็น เขตสุขภาพที่ 7 ความร่วมมือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น / มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประชุมกรรมการ / อนุกรรมการ 6 ครั้ง /Workshop 1 ครั้ง ด้านบริการ (service) -5 EC + Referral system(หัวใจ/มะเร็ง/อุบัติเหตุ/ทารกแรกเกิด/ปลูกถ่ายอวัยวะ) -กำหนดระดับชัดเจนทุกสาขา ด้านบุคลากร (Academic) ศูนย์ฝึกทักษะการดูแลผู้ป่วยในสถานการณ์เสมือนจริง (Khon Kaen University Simulation center for health care provider training (Post grad /Undergrad) ด้านวิจัย (Research) Research center region 7 -Clinical trials -Registry -Research program

Level สาขา บริการ ระดับ 1+ 1 2 3 1.หัวใจ 2.มะเร็ง 1.พยาธิวิทยา   มข. ขก. รอ. กส./มค. 2.มะเร็ง 1.พยาธิวิทยา มข./รอ. 2.รังสีวินิจฉัย 3.ผ่าตัด 4.เคมีบำบัด 5.รังสีรักษา 6.รังสีร่วมรักษา 7.เวชศาสตร์นิวเคลียร์ 3.อุบัติเหตุ 1.Multiple Injury มข./ขก. 2.Neuro Surgery มค. กส. 3.Vascular Surgery 4.Burn 5.Prehospital care – ALS 6. In hospital care

Level สาขา บริการ ระดับ 1+ 1 2 3 4.ทารกแรกเกิด 5.ปลูกถ่ายอวัยวะ   มข. ขก. กส. /รอ. มค. 5.ปลูกถ่ายอวัยวะ 1.Kidney มมส./ ขก./รอ. 2.Liver 3.Heart&Lung 4.Cornea 5.Bone marrow มข./ขก. 6.รับบริจาค มมส. กส./มค.

มาตรการ Service plan เขตสุขภาพที่ 7 ระบบ พบส. พี่น้องช่วยกัน ระดับเขต/จังหวัด 13 สาขา ศูนย์ส่งต่อบริหารจัดการระดับเขต/จังหวัด แผนการลงทุนระดับเขต แผนกำลังคน/พัฒนาบุคลากรรายสาขา การพัฒนาระบบข้อมูล/ บริหารจัดการ การร่วมมือ กับภาคส่วนต่างๆ ทั้งรัฐและเอกชน

ศักยภาพของเขตเป็นอย่างไร รับมือกับปัญหาสุขภาพของพื้นที่ได้หรือไม่ การส่งออกนอกเขตบริการลดลงหรือไม่ ผลลัพธ์ของ SP โดยเฉพาะสาขา Exellent Center ผลงาน 5 สาขาหลักของ node และการRefer in ลดลง ค่า CMI ที่ผ่านเกณฑ์ การรับมือกับ NCD

ส่งออกนอกเขต7 ไตรมาส 2 (คิวรังสีรักษาที่ ศรีนครินทร์และรพ.ขอนแก่นยาว) ส่งออกน้อยเพราะ ศักยภาพสูง ส่งมะเร็งฉายแสงอุดร มะเร็งชุกส่งอุบล ฉายแสง (อยู่ระหว่างพัฒนารังสีรักษา) -ส่งออกมาก (+ ต้อกระจก ศุภมิตร) -มะเร็งไปฉายแสงที่ อุดรฯ (คิวรังสีรักษาที่ ศรีนครินทร์และรพ.ขอนแก่นยาว)

แนวทางการแก้ไขปัญหาในเขตสุขภาพที่ 7 ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องฉายแสง ,รพ.ในเขตยังมีข้อจำกัดในการดูแลผู้ป่วยทำให้ระยะเวลารอคอยนาน จึงได้เสนอแนวทางแก้ไข ดังต่อไปนี้ 1.แผนเพิ่มศักยภาพ รพ. แม่ข่ายสาขามะเร็งภายในปี 2565 ดังนี้ รพ.ศรีนครินทร์ เป็น ระดับ 1+ รพ. ร้อยเอ็ด (A) เป็นระดับ 1+ รพ. ขอนแก่น (A) เป็นระดับ 1 2. พัฒนาระบบส่งต่อภายในเขตให้มีประสิทธิภาพ Case manager MIS (หลากหลายโปรแกรมส่งต่อ ขาดการเชื่อมโยงข้อมูล) CPG Referral center A-F Definition (ของ refer in/refer out/refer back ในและนอกเขตมีความแตกต่างกัน มีปัญหาในการวิเคราะห์ข้อมูล) หมายเหตุ : ตามแผน MOU เขตสุขภาพที่ 7 ร่วมกับมหาวิทยาลัย

เขตสุขภาพที่ 7 ศัลย์ 15% Appendicitis 33.80%(เกณฑ์25) (1,489/4,405) กาฬสินธุ์ โมเดล กาฬสินธุ์ สิรินธรโมเดล ขอนแก่น 53% 18.4% มหาสารคาม GP ผ่าได้ ร้อยเอ็ด ศัลย์ 15% 50.6% Appendicitis 33.80%(เกณฑ์25) (1,489/4,405)

เขตสุขภาพที่ 7 Ortho กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 45.% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 60.6% 45.% line consult ฝึกแพทย์ก่อนออก รพช. มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 54.3% 65.2% Ortho Non displaced fx 57.34% (เกณฑ์ 25) (3158/5507)

เขตสุขภาพที่ 7 สูติ 13% กาฬสินธุ์ ขอนแก่น 39.3% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด 28.3% สูติ 25.5% . Caesarean section 24.10% (เกณฑ์> 10) (2224/9227)

ปัญหาการเชื่อมโยงเครือข่าย เขตสุขภาพที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ลดลง 12.03% ลดลง 93.80% มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ปัญหาการเชื่อมโยงเครือข่าย ลดลง 24.24% เพิ่มขึ้น 31.69% Med. Sepsis refer ลดลง 1,017 ราย

มหาสารคาม ใช้ non invasive repirator เขตสุขภาพที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ลดลง4% กุมาร On Respirator Refer in ลดลง มหาสารคาม ใช้ non invasive repirator

CMI 2559 ผ่าน ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ รวม A 2.0695 1.58 - 1.82 S 1.52 1.6325 1.57 M1 0.9859 0.98 M2 0.6816 0.775 0.65 0.7507 0.71 F 0.6226 0.5683 0.5575 0.5083 0.57 ผ่าน 13/22 7/17 2/16 3/14 25/69 CMI Refer in จาก รพ.ช.

Quick Win สาขา หัวใจภาพเขต สาขาหัวใจ สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น ศูนย์หัวใจ ระดับ21 รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์หัวใจ ระดับ 32 รพ.A-F2 ให้ SK ได้ทุกที่ 100% เหลือขยาย Warfarin Clinic 100%F2พัฒนาระบบการบริหารจัดการยา Dual-anti plateletให้ครอบคลุม STEMIได้ SK/PPCI Key Process กลไกขับเคลื่อน : PA-CIPO ทีมหัวใจสัญจร/ACS rally นัด Echo/Cath lab online Line consult /24 ชม. Training SK box ของกาฬสินธุ์ การลงข้อมูล ACS:UCHA Quick Win สาขา หัวใจภาพเขต เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละรพ. A-F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยSTEMIได้ > 75% 93.45% (257/275) 86.09% (130/151) 96.87% (93/96) 88.46% (92/104) 91.37% (572/626) รพ. A-F2 ที่สามารถให้ยา SK 100% 100% (24/24) (17/17) 100% (11/11) 100% (14/14) 100% (66/66) อัตราตาย STEMI ≤ 10% 9.09% (25/275) 2.59% (4/154) 1.04% (1/96) 4.8 % (5/104) 5.56 % (35/629 ) รพ. A-F2 จัดตั้ง Warfarin Clinic 100 % (24/24) 29.41 (5/17) 45.45% (5/11) (14/14) 72.72% (48/66) Refer out นอกเขต ผู้ป่วย ACS ลดลง ลดลง 50 % 1 ราย 17 ราย 3 ราย 40 ราย ลดลง 3.28% (61 ราย) **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

สาขาอุบัติเหตุ อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น EC ระดับ 1 Learning Center ตายทางถนน 18.18/แสน ปชก. พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลM2ในการดูแลผู้บาดเจ็บต่อเนื่องหลังพ้นระยะวิกฤติ ขาดแคลนห้องผ่าตัด อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยในจากการบาดเจ็บ ที่มีค่า Ps score ≥0.75 (เป้าหมาย< 1 %) Key Process PA : CIPA ลดบาดเจ็บทางถนน ข้อมูลเสนอ ศปถ.แก้จุดเสี่ยงครบ มาตรการองค์กร 100% Ambulance Safety ด่านชุมชน 77 อำเภอ TEA Unit / EOC ตัวชี้วัด 6 เดือน ผลงาน หมายเหตุ ตาย PS score >0.75 0.83 ขอนแก่นไม่ผ่าน ER คุณภาพ >70% 100% สีแดงมาด้วย EMS >50% 55.24 แก้จุดเสี่ยง >5 /จ./ไตรมาส 40 ผ่านทุกจังหวัด TEA U –A,S,M1 ER to OR ภายใน 30 นาที>80% 40.83% ขอนแก่นต่ำ **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

สาขามะเร็ง สถานการณ์ Key Process PA : CIPO OVCCA Fast track มะเร็งเต้านมเขต โครงการรณรงค์ร่วมกับ CASCAP โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมกาญจนาบารมี โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ร่วมกับ มข. โครงการพัฒาระบบป้องกันและควบคุมมะเร็ง นำร่องที่ อ.พนมไพร จ.ร้อยเอ็ด สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น ศูนย์เชี่ยวชาญระดับ2 1 รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์เชี่ยวชาญระดับ 21+ พัฒนา M1 ให้เคมีบำบัด ขอนแก่นรอคอยรังสีรักษา > 2 เดือน ปัจจุบันส่งโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ปัญหา : มะเร็งตับ/ท่อน้ำดีมากสุดในอีสาน CA Breast /CACx เพิ่ม ระยะลุกลาม >ระยะเริ่มต้น ขาดแคลนบุคลากรสาขาที่เกี่ยวข้อง ห้องผ่าตัดไม่พอ Quick Win สาขา มะเร็ง เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 1. ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัดใน 4 สัปดาห์ > 80 % 68 % 126/185 80.39 123/153 91.42 % 96/105 91 % 31/34 78.83% 376/477 2. ลดระยะเวลารอคอยเคมีบำบัดใน 6สัปดาห์ 90.6 % 1078/1189 85.95 104/121 93 % 98/105 100 % 2/2 90.92% 1282/1410 3. ลดระยะเวลารอคอยรังสีรักษาใน 6 สัปดาห์ 48.1% 234/486 76.92 10/13 80% 32/40 91% 53.58% 307/573 **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย

สาขาทารกแรกเกิด สถานการณ์ รพ.ขอนแก่น EC ระดับ 21 รพ.ร้อยเอ็ด ศูนย์ NB ระดับ 21 รพ.มหาสารคามระดับ 3 แต่รักษา laser ROP /ให้ Surfactant /ให้ TPN screening IVH CHD ROP ได้ M2 ลงไปไม่เปิด NICU NICU 58 (จาก85) เพิ่ม 7 เตียง สาขาทารกแรกเกิด Key Process PA : CIPO หัวใจ/NB สัญจร Fast track /ส่งต่อปลอดภัย กุมาร SP rally กุมารสัญจรเยี่ยม Node Stable Program พัฒนา Refer back นวัตกรรม: Nasal CPAP Non invasive Respirator ที่ รพ.บรบือ **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต7 1. อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน >5:1000 การเกิดมีชีพ 6.55 70:10,693 2.9 16:5,344 3.4 15:4,299 1.66 6:3,875 4.42 107:24,211 2. จำนวนเตียงNICUเพิ่มขึ้นเพียงพอต่อการบริบาลทารกป่วย เพิ่มขึ้น ร้อยละ10 28 เตียง (ควรมี 37 เตียง) 14 เตียง  (ควรมี 18 เตียง) 8 เตียง (ควรมี 14 เตียง) 16 เตียง) 7เตียง 18.9%

สาขาจักษุ สถานการณ์ ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองตา จ.ขอนแก่น มีจักษุแพทย์ 9 คน(ครบทุกอนุสาขา) fundus camera 23 เครื่อง หมุนเวียนในจังหวัด จ.ร้อยเอ็ด มีจักษุแพทย์ 3 คน fundus camera 18 เครื่อง มีการจัดการที่เอื้อต่อการเข้าถึงบริการ ได้แก่ การจัดบริการรถรับส่งผู้ป่วยที่มาผ่าตัด การเพิ่มบริการผ่าตัดนอกเวลา การเปิดห้องผ่าตัดเพิ่ม จ.มหาสารคาม มีจักษุแพทย์ 5 คน (retina 1 คน) fundus camera 8 เครื่อง เป็นศูนย์ retina รับ Refer ทั้งใน/นอกเครือข่าย ,มีศูนย์ดวงตา/เปลี่ยนกระจกตา จ.กาฬสินธุ์มีจักษุแพทย์ 4 คน ยังขาดจักษุแพทย์ด้านretina พยาบาลเวชปฏิบัติทางตายังไม่ครอบคลุมทุกอำเภอ เครื่องfundus camera ยังไม่เพียงพอต่อการคัดกรอง และไม่มีเครื่องpattern laser ในการรักษาDR คัดกรองDRน้อย ลงข้อมูลน้อย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจคัดกรองตา 75% 65.3 (194,355/297,634) 88.41 % (183348/207395 83.01 % (117,118) 64 % (88,161/137,739) 75.18% ผู้ป่วยLow Vision Cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน90วัน 80% 99.20% (2197/3093) 94.90% 93.57 % (585) 100 % (390/390) 96.92%

สาขาไต ชะลอไตเสื่อม **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา สถานการณ์ HD ทั้งเขต439 เครื่อง มีเพียงพอ CAPD NODE ถึง M2 จ.ขอนแก่น A-M2 ทำได้ 5 ใน 6 รพ. จ.ร้อยเอ็ด M2 ได้ 2 ใน 4 รพ. จ.มหาสารคาม M2 มี CAPD Node 1 ใน 2 รพ. จ.กาฬสินธุ์ M2 ครบ 3 รพ. CKD Clinic แยกชัดเจนใน M1,F1 คัดกรอง CKD ใน DM,HT ต่ำ สาขาไต ชะลอไตเสื่อม Key Process PA : CIPO NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ดำเนินงานชุมชนรักษ์ไต บูรณาการ CKD Clinic กับ NCD Clinic พัฒนาฐานข้อมูลตัวชี้วัด NCD:CKD eGFR เป็น Enzymatic Method **--นอกเขต รวมส่ง ต้อกระจกศุภมิตรเสนา จ.อยุธยา ปี57 =819 ราย,ปี58 =940ราย Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต7 1. ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของeGFR น้อยกว่า 4 ml/min/1.72 m2/yr > 50 % 59.83% 7,951/13,289 69.71% 7,113/10,303 62.08% 4,089/6587 65.13% 7,856/12062 63.94% 27,009/42,241 2. ร้อยละของผู้ป่วยDM HTได้รับการคัดกรองCKD > 90% 46 % 71.76 (74,316/103,568) 61.34 % 54 % 58 % 3. ร้อยละของ CKD clinic ที่ดำเนินการอย่างสมบูณณ์ในรพ.A-F1 100% (7/7) 20 % (1/5) NCD-CKD clinic แบบบูรณาการ

สาขาโรคไม่ติดต่อ สถานการณ์ การควบคุม DM ,HT ไม่ได้ตามเกณฑ์ (ต่ำทุกเขต) Application Stroke Fast Track KKU ขาดการพัฒนารูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ Stroke ยังไม่บูรณาการร่วมกับ หัวใจ ไต และปฐมภูมิ Key Process ผู้บริหารร่วมขับเคลื่อน Case Manager/System manager Line consult Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหา สารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง < 7 % 5.23% 2.47% (26/948) 5.57% (37/642) 4.91% (27/34) 4.55% อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วย COPD <130 ต่อแสน ประชากร 83.04% 30.27% (331/1,093,307) 57.93% 72.08% (522:941) 60.83%

สาขายาเสพติด สถานการณ์ Key Process แพทย์และพยาบาลเฉพาะทาง มีคลินิกยาเสพติดทั้งหมด 67 แห่ง แพทย์ผ่านการอบรมหลักสูตรเวชศาสตร์สารเสพติดทั้งหมด 26 คน ร้อยละ 38.9 พยาบาลPGยาเสพติด 35คน ร้อยละ 52 คลินิกเสพติดคุณภาพร้อยละ 71.6(48/67) การdrop out สูง ผู้ป่วยระบบสมัครใจน้อย Key Process แพทย์และพยาบาลเฉพาะทาง คลินิกยาเสพติดคุณภาพ CPG สุรา บุหรี่ Quick Win เป้า หมาย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ภาพเขต 7 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง3เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดตามเกณฑ์ที่กำหนด 92% 97 237/243 93.63 367/392 98.6 220/223 91.67 220/240 95.08 1044/1098 ร้อยละของศูนย์คัดกรองดำเนินงานตามแนวทาง 80% 100 ร้อยละของคลินิกยาเสพติดผ่านการรับรองคุณภาพ 70% 86 19/22 55 11/20 11/11 50 7/14 71.6 48/67

เขตสุขภาพที่ 7 สรุป Service Plan ทำแล้วได้อะไร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ลดความเหลื่อมล้ำ-เพิ่มการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและทั่วถึง แล้วหรือยัง และจะก้าวเดินต่อไปอย่างไร

ข้อเสนอแนะ IMPLEMENTATION ควรมีการพัฒนาเพิ่มเติมในด้าน Policy และช่องทางในการสื่อสาร ร่วมคิดร่วมทำในแต่ละระดับ บูรณาการในแต่ละสาขา การจัดสรรทรัพยากร DATA BASE ควรทบทวนแนวทางการจัดเก็บข้อมูลในแต่ละสาขาตั้งแต่แหล่งที่มาของข้อมูล คำจำกัดความและการวัดวิเคราะห์ที่ตอบสนองต่อการรายงานความก้าวหน้า ควรทบทวนโปรแกรมการส่งต่อของแต่ละจังหวัดในเขต ที่มีความแตกต่างกัน เพื่อสามารถเชื่อมต่อข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยในภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ RESOURCE ห้องผ่าตัด แพทย์ พยาบาลเฉพาะทาง

ขอบคุณ