เทคนิคเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอโดย สถาบันส่งเสริมเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สังกัด มูลนิธิเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ศาสตราจารย์ ดร. เทรูโอะ ฮิหงะ จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ (EM) ได้รับการพัฒนาและเป็นการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ ที่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ ในระหว่างปี 2510-2525 โดยศาสตราจารย์ ดร. เทรูโอะ ฮิหงะ จากภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยริวกิว โอกินาว่า ประเทศญี่ปุ่น ศาสตราจารย์ ดร. เทรูโอะ ฮิหงะ
จุลินทรีย์ในธรรมชาติ กลุ่มเป็นกลาง จุลินทรีย์ กลุ่มก่อโรค จุลินทรีย์ กลุ่มสร้างสรรค์
จุลินทรีย์ กลุ่มก่อโรค จุลินทรีย์ กลุ่มสร้างสรรค์ จุลินทรีย์ ถ้าหากจุลินทรีย์กลุ่มก่อโรคมีจำนวนมากกว่า จุลินทรีย์กลุ่มเป็นกลางจะไปสนับสนุน ทำให้เกิดการทำงานในเชิงทำลายมากขึ้น จุลินทรีย์ กลุ่มก่อโรค จุลินทรีย์ กลุ่มสร้างสรรค์ จุลินทรีย์ กลุ่มเป็นกลาง
จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ จุลินทรีย์ กลุ่มก่อโรค กลุ่มสร้างสรรค์ ถ้าหากจุลินทรีย์กลุ่มสร้างสรรค์มีจำนวนมากกว่า จุลินทรีย์กลุ่มเป็นกลางจะไปสนับสนุน ทำให้เกิดการทำงานในเชิงสร้างสรรค์ เกิดภาวะปลอดโรค จุลินทรีย์ กลุ่มก่อโรค จุลินทรีย์ กลุ่มเป็นกลาง จุลินทรีย์ กลุ่มสร้างสรรค์
การใช้ EM จะทำให้จุลินทรีย์กลุ่มสร้างสรรค์มีจำนวนมากขึ้น ทำให้เกิดการทำงานในลักษณะที่เป็นประโยชน์ กลุ่มก่อโรค
จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ EM : EFFECTIVE MICROORGANISMS
ทำไมต้องใช้ EM ?
ผู้บริโภค สัตว์ พืช จุลินทรีย์ ผู้ผลิต ผู้ย่อยสลาย พืชเลี้ยงสัตว์ พืชและสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์ พืช จุลินทรีย์ ผู้ผลิต ผู้ย่อยสลาย จุลินทรีย์เลี้ยงพืชและสัตว์
กลุ่มที่ 1 จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) สังเคราะห์สารอินทรีย์และสร้างความสมบูรณ์ให้ดิน ได้แก่ กรดอะมิโน (Amino acid), วิตามิน (Vitamins), ฮอร์โมน(Hormone) เช่น Rhodopseudomonas spp.
กลุ่มที่ 2 จุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก(Zymogenic / Fermented bacteria) เกิดการย่อยสลายแบบหมัก เป็นหัวเชื้อในการผลิตปุ๋ยหมัก เช่น ยีสต์ (Yeast : Saccharomyces spp.)และแอคติโนมัยซีสต์(Actinomycetes : streptomyces spp.)
จุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมัก
กลุ่มที่ 3 จุลินทรีย์สร้างกรดแลคติค (Lactic acids bacteria) เปลี่ยนสภาพดินเน่าเปื่อย / ก่อโรค ให้เป็นดินต้านทานโรค ช่วยในการงอกของเมล็ด - ย่อยสลายเปลือก เช่น พวกแลคโตบาซิลลัส (Lactobacillus spp.)
โดยตั้งโรงเรียนศูนย์ฝึกอาชีวเกษตรสงเคราะห์เชียงใหม่ เมื่อ ปี พ. ศ โดยตั้งโรงเรียนศูนย์ฝึกอาชีวเกษตรสงเคราะห์เชียงใหม่ เมื่อ ปี พ.ศ. 2518 และ ตั้ง ศูนย์เกษตรธรรมชาติคิวเซ เพื่อเผยแพร่เทคโนโลยี EM เมื่อปี พ.ศ. 2531 และตั้งมูลนิธิเกษตรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อปี พ.ศ. 2547 อาจารย์คาซูโอะ วาคุกามิ ผู้นำเทคโนโลยี EM เข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย
การประยุกต์ใช้ EM แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ