การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนข่าว.
Advertisements

บริษัท ไทยยามาฮ่ามอเตอร์ จำกัด
News & Event. โครงการสัมมนา “ นักขายสายพันธุ์ใหม่ ” ณ Maritime Park & Spa Resort จังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 9-11 พฤษภาคม 2551.
องค์ประกอบของโปสเตอร์
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 2 หลักการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา HTML โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Full Frontal PR by Richard Laermer. Laermer, Richard. (2004). FULL FRONTAL PR (1 st ed.). United States of America: Bloomberg Press.
1 cm.4204 Print & Electronic Media Production for Ad. Pr. IMC นท.4204 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในงาน โฆษณา ประชาสัมพันธ์ และงานการสื่อสารการตลาด.
ใช้รูปนี้ post ไว้ด้านหน้าค่ะ. เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2550 ที่ผ่านมา แผนกพัฒนาผู้จำหน่าย 2 ส่วนงาน บริหารความพึงพอใจลูกค้า จัดสัมมนาหลักสูตร “ ความเป็นเลิศในการบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า.
การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคและ การพัฒนาเครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชน
เหตุการณ์ในโปรแกรม Game Maker
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง Part of body( พาสออฟบอดี้ ) ส่วนต่างๆของร่างกาย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา หลักการประชาสัมพันธ์ COMM (3-0- 6)_________________________________________________________________________________________________.
โดยสว่าง ศรีสม องค์การคนพิการสากลประจำภูมิภาค เอเชีย - แปซิฟิก XHTML Navigation, Table & Form 1.
Enterprise Resources Planning (ERP )
การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.
Parts of the Body กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดย ครูชาลิดา รายรัตน์ โรงเรียนบ้านโป่ง สพท.เชียงราย เขต 2.
การประชาสัมพันธ์ผ่าน สื่อมวลชน แนวคิดและคุณลักษณะ ของสื่อมวลชนแต่ละ ประเภท กระบวนการผลิต สื่อมวลชนแต่ละประเภท.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
Electrical Properties of Devices RLC. Electrical Properties ( คุณลักษณะทางไฟฟ้า ) Electrical PropertiesResistorCapacitorInductor Impedance (Z)Z R = X.
นางยุภา พรเศรษฐ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกันตังพิทยากร โรงแรมอินทรา รีเจนท์ กรุงเทพมหานคร การพัฒนาองค์ความรู้การบริหารจัดการ ห้องสมุดมีชีวิต และการขยายเครือข่ายห้องสมุดมีชีวิต.
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
ความคืบหน้าโครงการจัดตั้งศูนย์ SMEs Industry Transformation Center
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
นโยบาย 7 ข้อหลัก ภ.3 7 นโยบายหลัก ภ.3 เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
ระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System :CMS) Worapoj promjuk.
หนังสือ “วารสารศาสตร์เบื้องต้น:ปรัชญาและแนวคิด
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
แปลว่าความรู้(Knowledge)
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
วิทยาศาสตร์ และ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
งานการข่าว นายสยมภู อภิรัฐวงศ์ นักการข่าวชำนาญการพิเศษ
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
Facebook Personal Information Management walailak university Login
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
Seminar 4-6.
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
รัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิรา บรมนาถบพิตร  ครองราชย์วันที่ 9 ปี 2489 เมื่อพระชนมายุ
โรงเรียนแพทย์ระดับโลก ที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย และมวลมนุษยชาติ
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพื่อการศึกษา
ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำกรมชลประทาน
การขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
วิธีการคัดเลือกผู้แทนกระทรวงยุติธรรม เพื่อรับทุนฝึกอบรม ณ ต่างประเทศ
โครงการเสวนาระบบบัญชีสามมิติและงานบัญชี
การประชุมตรวจราชการตามแผนการตรวจราชการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1 (Project and Progress Reviews) วันจันทร์ที่
แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (Probability of an event)
การดำเนินงานเว็บไซต์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
ขั้นตอนการเบิก-จ่ายเงินให้กับผู้รับจ้าง
การเขียนบทความทางวิชาการ
News Update เกษตรท่าม่วง
News Update เกษตรท่าม่วง ประชุมสมัยสามัญ อบต.บ้านใหม่
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
แถลงข่าวดัชนีราคา เดือนกุมภาพันธ์ 2551
บทที่ 5 การเขียนตอบข้อสอบอัตนัย
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ หรือ ข่าวแจก (Press Release / News Release) หมายถึง ข่าวสารซึ่งองค์กรจัดทำขึ้น เพื่อจัดส่งแจกจ่ายสู่หนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นๆ โดยจัดพิมพ์ในรูปของเอกสารข่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นๆ นำไปเผยแพร่สู่ประชาชนเพื่อให้ประชาชนได้ทราบและเข้าใจในหน่วยงาน ตลอดจนเพื่อให้เกิดการยอมรับและภาพลักษณ์ที่ดี ข่าวประชาสัมพันธ์มักเป็นข่าวที่เกี่ยวข้องกับ นโยบาย โครงการ กิจกรรมการดำเนินงาน ผลการปฏิบัติงาน ความเคลื่อนไหวต่างๆ ขององค์กร

ประเภทของข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวแจ้งให้ทราบ (Announcement Release) เช่น แจ้งนโยบาย การดำเนินงาน การเปิดสาขา และแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ ฯลฯ เป็นการแจ้งให้ทราบรายละเอียดต่างๆ ของสิ่งที่เกิดขึ้นหรือที่จะมีขึ้น ข่าวกิจกรรมพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ (Event Release) เช่น จัดคอนเสิร์ต แรลลี่การกุศล ข่าวกิจกรรม/โครงการรณรงค์เพื่อสังคมต่างๆ ฯลฯ เป็นการสร้างให้มีสีสัน ดึงดูดความสนใจ และมุ่งให้เกิดความนิยมต่อองค์กร ข่าวเหตุการณ์เร่งด่วน (Spot News Release) เช่น เกิดเหตุเครื่องบินขัดข้องไม่สามารถเดินทางตามกำหนดได้ ฯลฯ เป็นการแจ้งให้ประชาชนได้ทราบอย่างรวดเร็ว ไม่เน้นเสนอรายละเอียดมาก ข่าวตอบโต้เหตุการณ์ (Response News Release) เป็นการชี้แจ้งรายละเอียดด้วยเหตุผลที่น่าเชื่อถือ ในประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ เช่น ข่าวลือเกี่ยวกับการขาดทุน ข่าวความขัดแย้งภายในองค์กร ฯลฯ

ความแตกต่างระหว่างข่าวประชาสัมพันธ์กับข่าวทั่วไป จุดมุ่งหมายของการเผยแพร่ข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : เพื่อเผยแพร่ข่าวสารขององค์กรเป็นหลัก ข่าวทั่วไป : มุ่งถ่ายทอดข้อเท็จจริงและสาระความรู้ที่เป็นสาธารณชนเป็นสำคัญ ทิศทางของผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ข่าวประชาสัมพันธ์ : คาดหวังผลด้านดีต่อองค์กรเสมอ ข่าวทั่วไป : อาจให้ผลด้านดีและด้านไม่ดีแก่บุคคลหรือองค์กรก็ได้ ลักษณะของแหล่งข่าวหรือการได้ข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : นักPRจะส่งข่าวให้สื่อมวลชน หรือเชิญสื่อร่วมฟังการแถลงข่าว ข่าวทั่วไป : นักข่าวต้องแสวงหาข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง

ความรวดเร็วหรือความทันเหตุการณ์ กลุ่มเป้าหมาย ข่าวประชาสัมพันธ์ : มุ่งเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะของตน ข่าวทั่วไป : มุ่งเผยแพร่สู่ประชาชนโดยส่วนรวม ขอบเขตของข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : นำเสนอเกี่ยวกับเรื่องขององค์กร ข่าวทั่วไป : ครอบคลุมเนื้อหาหลายด้านของสังคมส่วนรวม ความรวดเร็วหรือความทันเหตุการณ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ : ส่วนใหญ่สามารถรอเวลาในการเผยแพร่ได้ระยะหนึ่ง ข่าวทั่วไป : เน้นความสด รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์เสมอ

รูปแบบและโครงสร้างของข่าวประชาสัมพันธ์ การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ใช้หลักการเขียนข่าวเช่นเดียวกับข่าวทั่วไป โดยมีวิธีการเขียน 3 รูปแบบ ได้แก่ การเขียนข่าวแบบพีระมิดหัวกลับ การเขียนข่าวแบบพีระมิดหัวตั้ง และการเขียนข่าวแบบผสม 1. การเขียนข่าวแจกแบบพีระมิดหัวกลับ โครงสร้างของการเขียนข่าวแจก สามารถแบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1.1 พาดหัวข่าว (Headline) เป็นส่วนสำคัญ ที่เรียกร้องความสนใจให้ผู้อ่านติดตามอ่านข่าวนั้นต่อไป และช่วยให้รู้ว่าข่าวนั้นมีประเด็นอะไรน่าสนใจ ลักษณะของพาดหัวข่าวที่ดี คือ ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่ายและตรงจุด

1.2 ความนำ หรือ โปรย (Lead) เป็นส่วนที่เขียนขึ้นในย่อหน้าแรกของข่าว เป็นข้อความที่เป็นเนื้อข่าวโดยย่อทั้งหมดว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เพราะเหตุใดหรือทำไม และอย่างไร (5Ws+1H) 1.3 ส่วนเชื่อม (Neck) เป็นส่วนเชื่อมข้อความระหว่างความนำกับเนื้อหาที่ต่อเนื่องกัน เพื่อให้รายละเอียดเพิ่มเติมหรือให้เข้าใจเรื่องราวได้กระจ่างยิ่งขึ้น เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาหรือภูมิหลังของเหตุการณ์ 1.4 เนื้อหาข่าว (Body) เป็นส่วนที่ให้เนื้อหารายละเอียดของเรื่องราวทั้งหมด การนำเสนอเนื้อหาข่าวมักจะเสนอตามลำดับความสำคัญของเรื่องราว จากสำคัญสุดไปถึงสำคัญน้อยที่สุด หรืออาจจำเสนอข่าวตามลำดับเวลาหรือเหตุการณ์ก็ได้

ข้อดีของการเสนอข่าวรูปแบบพีระมิดหัวกลับ 1.5 สรุป (Conclusion) ส่วนท้ายของข่าวแจกอาจจะมีการสรุปไว้ก็ได้ อาจจะเป็นจุดใดจุดหนึ่งของข่าว หรือเขียนย้ำข้อเท็จจริงเด่นๆ ที่ได้เสนอไปแล้วก็ได้ ข้อดีของการเสนอข่าวรูปแบบพีระมิดหัวกลับ สะดวกในการอ่าน สะดวกแก่การทำงานของบรรณาธิการข่าว สะดวกในการจัดหน้าหรือเข้าหน้าหนังสือพิมพ์

เนื้อหาข่าว (Body) -รายละเอียดของเรื่องราว - 5 W 1 H -เขียนแบบปิรามิดหัวกลับ พาดหัวข่าว วรรคนำ เนื้อหาข่าว

2. การเขียนข่าวแจกแบบพีระมิดหัวตั้ง เป็นการเขียนข่าวแจกที่กล่าวถึงรายละเอียดปลีกย่อยก่อน แล้วค่อยขยายรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ จนถึงประเด็นสำคัญของเรื่องในตอนท้ายหรือตอนจบของข่าว 3. การเขียนข่าวแจกแบบผสม เป็นการเขียนข่าวที่มีประเด็นข่าวสำคัญมากกว่าหนึ่ง การเขียนข่าวอาจเริ่มต้นสรุปประเด็นแรกก่อนมาเขียนเป็นความนำ ขณะที่เนื้อข่าวก็จะเป็นการอธิบายรายละเอียดขยายความนำ จนกระทั่งถึงจุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งเป็นการหักเหหรือเปลี่ยนแปลงให้เกิดประเด็นสำคัญต่อเนื่องไปจนจบ

หลักในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ เขียนข่าวให้เป็นลักษณะเดียวกับข่าวของหนังสือพิมพ์ ข่าวที่ส่งไปจะต้องเป็นเรื่องราวที่เหมาะสมกับหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับ ข่าวประชาสัมพันธ์หลายๆ เรื่องควรมีภาพประกอบที่เกี่ยวข้องหรือสอดคล้องกับข่าวส่งไปด้วย เช่น ภาพผู้บริหาร(บทสัมภาษณ์) ภาพผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น

ลักษณะของข่าวประชาสัมพันธ์ที่ดี เขียนในรูปแบบปิรามิดหัวกลับ เป็นข้อเท็จจริง ตรงไปตรงมา พาดหัวข่าว ระบุเรื่องราวโดยตรง มีความยาวไม่เกิน 1 ประโยค วรรคนำ ระบุข้อมูลสำคัญให้ชัดเจน แต่ละย่อหน้าต้องสั้นกระชับ เนื้อหาข่าวควรจบใน 1 หน้า หลีกเลี่ยงการกล่าวเกินความจริงเพื่อสร้างภาพ อธิบายให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ

ไม่ใช้สำนวนนักประพันธ์ ไม่ควรใช้ข่าวฉบับเดียวกัน เนื้อหาเหมือนกันส่งให้สื่อมวลชนทุกฉบับ การระบุจำนวนตัวเลข 1 – 9 เขียนเป็นตัวอักษร / 10 ขึ้นไป เป็นตัวเลข การเสนอข่าวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ควรระบุให้ชัดเจน เขียนชื่อตัวย่อของหน่วยงานในพาดหัวข่าว ถ้าหน่วยงานนั้นเป็นที่รู้จัก