กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่
วัยเรียน ตัวชี้วัดหลัก : เด็ก 6-14 ปี มีรูปร่างสมส่วน ร้อยละ 66 ตัวชี้วัดรอง 1.เด็ก 6-14 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 2.เด็กกลุ่มเสี่ยงเข้าถึงบริการคลินิกDPAC ร้อยละ 80 3.โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรเพิ่มขึ้นอำเภอละ 1 แห่ง
Template 1. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน
ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน นร.อายุ 6-14 ปี แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ ภาวะเริ่มอ้วน/อ้วน นร.อายุ 6-14 ปี แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ เป้าหมาย <ร้อยละ10
นร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ นร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน แยกตามโซน กลาง เหนือ ใต้ เป้าหมาย > ร้อยละ66(ปี60) แหล่งที่มา: รง.HDC ณ 30 กย 2559
PERT : ร้อยละของนร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ66 การเฝ้า ระวัง การอ้วน เตี้ยใน กลุ่ม นร.อายุ 6-14 ปี จนท.สธ รพ/สสอ รับทราบ นโยบาย และแน งทาง การ ทำงานปี 2560 รพ. รับทราบ แนว ทางการ ทำงาน จนท.สธ. รพสต. รับทราบ แนว ทางการ ทำงาน รร. รับทรา บ นโยบา ยและ แนว ทางกา ร ทำงาน มีการ พัฒนา ระบบ ข้อมูล มี คลินิก DPAC คุณภาพ มี คลินิก DPAC มีข้อตกลง ในการส่ง ต่อเด็กกลุ่ม อ้วนเตี้ย ระหว่าง รร./รพ.สต รร.มี ทีม SKC/ SKL จนท.ได้ร รับก่าร พัฒนา เรื่อง ระบบ ข้อมูล เด็กกลุ่มที่มี โรคอ้วน ได้รับการ ดูแล/รักษา โดยแพทย์ ร้อยละ100 เด็กกลุ่ม อ้วน ได้รับการ ลดความ อ้วนจาก จนท.ร้อย ละ100 นร.6- 14ปี ได้รับ การคัด กรอง Obesit y sign ร้อยละ100 มีข้อมูล เด็ก ผอม/ เตี้ยมี มีข้อมูล เด็ก อ้วนเริ่ม อ้วน มีข้อมูล เด็ก รูปร่าง สมส่วน นร.ที่ ได้รับการ ดูแลได้รับ การจัด กิจกรรม ลดความ อ้วนจาก รร.อย่าง ต่อเนื่อง ร้อยละ 100 นร.6-14 ปีรูปร่าง สมส่วน ร้อยละ66 จนท.มีการ ลงข้อมูลร้ คัดกรอง/ส่ง ต่อ/รักษาใน DPAC/ กิจกรรม รร. รพ/รพ. สต/รร ได้รับการ ติดตาม โดยทีม นิเทศ อำเภอ/ จังหวัดใน ไตรมาส3 ต.ค-ธ.ค.2559. ม.ค-มี.ค.2560. เม.ย - มิ.ย.2560. ก.ค - ก.ย.2560 . PERT : ร้อยละของนร.อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ66
เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. ระบบรายงาน 43 แฟ้ม 1.บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ระดับตำบลได้รับการเสริมศักยภาพเรื่องระบบรายงาน43 แฟ้มและรายงานแปลผล(1ครั้ง) 2.มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 2/2559 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุม ร้อยละ 60 1.มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ(ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน) เทอม 2/2559 ครอบคลุม ครบถ้วนและ ทันเวลา 2.มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 2/2559 จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมร้อยละ 80 1.มีรายงานการติดตาม การบันทึกรายงาน 43 แฟ้ม คัดกรอง เฝ้าระวัง/ตรวจสุขภาพ นร. เทอม1/2560 2.มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 1/2560จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมร้อยละ 60 1. มีรายงานสถานการณ์ภาวะโภชนาการ(ผอม อ้วน เตี้ย สูงสมส่วน) เทอม1/2560ครอบคลุม ครบถ้วนและ ทันเวลา 2. มีข้อมูลผลการคัดกรองภาวะโภชนาการเทอม 1/2560จำแนกตามกลุ่มเป้าหมายครอบคลุม ร้อยละ80 1.ข้อมูลการคัดกรองภาวะโภชนาการ 2.ระบบรายงาน 43 แฟ้ม/HDC/CMBIS 3.รายงานการติดตามการบันทึกข้อมูลของทีมระดับอำเภอ 2. การพัฒนาขีดความสามารถ ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ครูและSKC ผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับ นโยบาย เป้าหมาย แนวทางแก้ไข องค์ความรู้ SKC ครอบคลุมทั้งหมด 25 อำเภอ จนท.รพ.สต.ทุกแห่ง/ ครู และแกนนำนักเรียน(smart kids leader) ในโรงเรียนทุกสังกัด ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวทาง SKC จากทีม SKC ระดับอำเภอ (ครู ข.) รพ.สต. และครูอนามัยโรงเรียนทุกสังกัด ได้รับการถ่ายทอดนโยบายและความรู้ร้อยละ 100 1.แผนการอบรม 2.ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าอบรม ครูอนามัยโรงเรียนที่ผ่านและยังไม่ผ่านการอบรม
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3.การคัดกรอง นักเรียนObesity sign 1. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 60 2. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 60 1. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 100 2. เด็กนักเรียน เทอม 2/2559 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 100 1. เด็กนักเรียน เทอม 1/2560ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ 60 2. เด็กนักเรียน เทอม 1/2560 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 60 1. เด็กนักเรียน เทอม 1/2560ได้รับการคัดกรองภาวะโภชนาการ ร้อยละ100 2. เด็กนักเรียน เทอม 1/2560 ได้รับการคัดกรอง obesity sign ร้อยละ 100 1. ทะเบียนคัดกรองเด็กอ้วนแต่ละรพ.สต./อำเถอ 2. แบบรายงานการจำแนกกลุ่มปกติ เริ่มอ้วน อ้วน 4. การดำเนินงาน คลินิกDPACใน รพสต./รพ. 1.มีการจัดตั้งคลินิกDPAC รพ./รพ.สต.ทุกแห่ง 2.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญหา ดูแล ส่งต่อ เด็กวัยเรียนทุพโภชนาการร่วมกับ รร. และภาคีเครือข่าย 3.มีข้อตกลงร่วมกันจัดระบบดูแล ส่งต่อ คลินิกDPAC) 4.เด็กอ้วนเสี่ยง obesity เทอม 2/2559 เข้ารับบริการที่คลินิก DPACร้อยละ 5๐ 5.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 2/2559 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) ร้อยละ 50 1.นักเรียนอ้วนเสี่ยง obesityเทอม 2/2559 ได้เข้าสู่ระบบบริการ/ระบบการดูแลแก้ไขปัญหา ในคลินิกDPACร้อยละ100 2.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 2/2559ร้อยละ100 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) 3.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนรายใหม่เทอม 1/2560 ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit)อย่างน้อยร้อยละ 50 2.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.นร.ผอม เตี๊ย เริ่มอ้วน และอ้วนเทอม 1/2560รายใหม่ทุกราย ได้รับการจัดการน้ำหนัก ในด้านโภชนาการ (Food For Fun )และการออกกำลังกาย(Fun For Fit) ร้อยละ100 2.มีรายงานผลการจัดการน้ำหนักนักเรียนทั้งด้านกิจกรรม และผลลัพธ์ 1.ทะเบียนจำนวนคลินิก DPACของ รพ/รพ.สต. 2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการคลินิก DPACระดับ อำเภอ Flow chartระบบส่งต่อคลินิก DPAC 3.แผนการให้บริการคลินิก DPAC 4.จำนวนเด็กอ้วนที่เข้ารับบริการคลินิก DPAC 5.แบบประเมินตนเองคลินิก DPAC คุณภาพของรพ./รพ.สต
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5. การจัด กิจกรรมแก้ไข ปัญหาภาวะอ้วน ในโรงเรียน/ใน ชุมชน 1.อำเภอมีข้อมูลการดำเนินงาน - คัดกรอง obesity sign - รง.ผลการวิเคราะห์ปัญหา 2.มีแผนงานแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน /อปท./ผู้ปกครอง/คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 1.ตำบลมีแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาร่วมกับโรงเรียน/ภาคีเครือข่าย 2.มีผลการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ 1.มีรายงานผลการติดตามการดำเนินงานของคณะทำงานอำเภอ 2.มีผลการดำเนินกิจกรรมต่อในโรงเรียน 1.ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม 2.เด็กกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 3. เด็กกลุ่มปกติเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 50 1.แบบสรุปผลการพัฒนารูปแบบแก้ไขปัญหาเด็ก นักเรียนที่พบปัญหาภาวะโภชนาการขาด(ผอม/เตี้ย)และเกิน(เริ่มอ้วน/อ้วน) ของอำเภอ 2.ผลการดำเนินงานนวัตกรรม อย่างน้อย 2 โรงเรียน /อำเภอ 6. การ ดำเนินงาน โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ 1. มีการแต่งตั้งคณะทำงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ 2.มีข้อมูลโรงเรียนที่ได้รับการคัดเลือกการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 1.ผู้บริหาร/บุคลากรครูทุกคนในโรงเรียน(ที่เข้าร่วมพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ก้าวสู่ระดับเพชร) ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ แนวทาง กระบวนการ ดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ก้าวสู่ระดับเพชร จากคณะกรรมการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับอำเภอ ตำบล 2.โรงเรียนได้ประเมินตนเอง และมีแผนพัฒนาแก้ไขปัญหา 3.มีผลการดำเนินงานตามแผน 1. โรงเรียนมีรายงานส่งข้อมูลการประเมิน 19 ตัวชี้วัด ให้รพ.สต. คพ.สอ. และ สพป.เขต 2.มีรายงานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโดยทีมคณะทำงานระดับอำเภอ 3.โรงเรียนมีข้อมูลผลการแก้ไขตามคำแนะนำประเมินผล 19 ตัวชี้วัด และเตรียมพร้อมขอรับรองเบื้องต้น ระดับอำเภอ/โซน ก่อนส่งเข้าสู่ระดับจังหวัด 1.มีรายงานผลการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร โดยทีมระดับจังหวัด 2.โรงเรียนผ่านเกณฑ์โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพเพิ่มขึ้น อำเภอละ 1โรงเรียน 1.ทะเบียนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองสู่ระดับเพชร 2.รายงานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรครั้งที่1 และ 2 3.แผนการพัฒนาสู่โรงเรียนระดับเพชร
วัยรุ่น ตัวชี้วัดหลัก : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ15-19ปี (ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000 คน ) ตัวชี้วัดรอง 1.ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี (ไม่เกินร้อยละ 10) 2.อัตราการคุมกำเนิดทุกชนิดในมารดาหลังคลอดอายุ 15-19ปี (ร้อยละ 80) 3.อัตราการคุมกำเนิดกึ่งถาวรในมารดาหลังคลอดอายุ 15-19ปี (ร้อยละ 80)
Template อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 42 ต่อประชากรหญิงอายุ15-19ปี 1,000 คน )
สถานการณ์ สถานการณ์จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2559 จากรายงาน มีอัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี เปรียบเทียบกับจำนวนประชากรหญิงอายุ 15 - 19 ปี (ข้อมูลประชากรกลางปี 2558) จำนวนทั้งหมด 57,363 คน พบว่า มีอัตราการคลอดในหญิงอายุ 15-19 ปี เท่ากับ 1,156 คน คิดเป็นอัตรา 20.15 จำแนกเป็นสัญชาติไทย ร้อยละ 61.24 และ จำแนกเป็นชนเผ่า/ชาติพันธุ์ ร้อยละ 38.76 โดยอำเภออมก๋อย มีอัตราคลอดสูงสุด (81.27) รองลงมาคืออำเภอฝาง (52.94) และอำเภอสันป่าตอง (38.69) รายงานข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น อายุ 15-19 ปี เท่ากับ 198 คน คิดเป็นร้อยละ 11.41 จำแนกเป็นสัญชาติไทย ร้อยละ 46.22 และจำแนกเป็นชนเผ่า/ชาติพันธุ์ ร้อยละ 53.78 โดยอำเภอแม่ริม มีอัตราตั้งครรภ์ซ้ำสูงสุด (23.42) รองลงมาคืออำเภอสารภี (20.51) และอำเภอแม่อาย (18.49)
42 กราฟแสดงข้อมูลอัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ15-19ปี ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 30 กย.59 42
กราฟแสดงร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19 ปี : ข้อมูลจากรายงาน HDC ณ วันที่ 30 กย.2559
Program Evauation and Review Technique (PERT) : ชื่อตัวชี้วัด...อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อจำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน ตค.- ธค 59 มค.-มีค.60 เมย.-กค.60 สค.-กย 60 กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ในคลินิกวัยรุ่น ในรพ./รพสต. มีข้อมูล GAPและแผนแก้ไขปัญหาเชิงรุก/เชิงรับ มีระบบการให้บริการเชิงรุก และเชิงรับ มีข้อมูลรายงาน การนิเทศ ติดตาม ของอำเภอ มีข้อมูลหญิงอายุ 15-19ปี ที่ยังไม่ตั้งครรภ์ ที่รพ./รพสต. มีการติดตามระดับโซนบริการ /ระดับจังหวัด กลุ่มเสียงได้รับการค้นหาในรร. /ชุมชน -ประชุม key man วัยรุ่น -จัดทำมาตรฐาน /แผนปฏิบัติการ คลินิกวัยรุ่น ผ่านเกณฑ์ อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ผ่านเกณฑ์ กลุ่มเสียงได้รับบริการ ช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ได้รับการส่งต่อตามระบบ 1.มีแนวทางการดำเนินงานเชิงรุก/เชิงรับ ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 2.มีพรบ.ป้องกันแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ.2559 3.มีระบบติดตามรายงาน (รายเดือน) เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ/ตำบลรับทราบ แนวทาง การดำเนินงาน หญิงอายุ 15-19 ปี มีระบบรายงานการให้บริการช่วยเหลือทุกเดือน มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน มีรายงานการประชุมติดตามการดำเนินงาน เป้าหมาย อัตราคลอดมีชีพ ในหญิง อายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 50 ต่อ 1,000 คน หญิงอายุ15-19ปี ที่มา ANC ได้รับบริการให้คำปรึกษาร้อยละ100 ประชุมเชิงปฎิบัติการ ผู้บริหารชี้แจงให้เกิด มีระบบการให้บริการเชิงรุก เชิงรับ ตามแผนปฏิบัติ ที่กำหนด มีโครงสร้างการประสานการทำงานระหว่างทีมสหวิชาชีพ หญิงอายุ15-19ปี ที่มาคลอดได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนคุมกำเนิดร้อยละ100 มีข้อมูลหญิงอายุ15-19ปีที่ANCคลอด/แท้ง ที่รพ./รพสต. หญิงอายุ15-19ปี ได้รับการเยี่ยมบ้านและติดตงามในชุมชน ร้อยละ100 มีแผนแก้ไขปัญหา มีแนวทางกำหนดบทบาท ระดับอำเภอ หญิงอายุ15-19ปี หลังคลอด/แท้ง ได้รับการคุมกำเนิดร้อยละ100
เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.การ ป้องกันการ ตั้งครรภ์ใน เยาวชน 1.มีข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.มีการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่นและมีแผนการแก้ไขปัญหา 1.มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและรายงานการประชุมการป้องกันการตั้งครรภ์ในเยาวชนระดับอำเภอ 2.มีแผนการแก้ไขปัญหาทั้งเชิงรุกและเชิงรับ 3.มีข้อมูลกลุ่มเยาวชนที่เสี่ยงในโรงเรียนและชุมชน 4.กลุ่มเสี่ยงได้รับการบริการในคลินิกวัยรุ่น ใน รพและ รพ.สต. ร้อยละ 50 5.กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ร้อยละ 50 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการบริการในคลินิกวัยรุ่น ใน รพและ รพ.สต.ร้อยละ 100 2.กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อตามระบบการให้บริการร้อยละ 100 3.กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้และทักษะชีวิตในการป้องกันการตั้งครรภ์ร้อยละ 100 1.อำเภออนามัยเจริญพันธ์ผ่านเกณฑ์ 2.คลินิกวัยรุ่นผ่านเกณฑ์ 3.การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19ปี ลดลง 1.ข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและรายงานการประชุม 3.แผนการแก้ไขปัญหาทั้งเชิกรุกและเชิงรับ 4.ข้อมูลกลุ่มเสี่ยง 5.ข้อมูลการให้บริการทั้งเชิกรุกและเชิงรับ
ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น (จัดทำแนวทางการดำเนินงานระดับจังหวัด) 1.มีข้อมูลจำนวนหญิงอายุ15-19 ปี ที่คลอด จำแนกอายุ สัญชาติ อยู่ในหรือนอกระบบโรงเรียน ความพร้อมในการตั้งครรภ์ การวางแผนการคุมกำเนิด ฯลฯ 2.มีระบบการประสานการดำเนินงานระหว่าง สหวิชาชีพ(ANC ห้องคลอด รพ/รพ.สต) 3.มีแผนการแก้ไขปัญหา 1.มีระบบการให้บริการเชิงรุกและรับตามแผนที่กำหนด 2.หญิงอายุ 15-19ปีที่มารับบริการ ANCได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนการคุมกำเนิดร้อยละ 100 3. .หญิงอายุ 15-19ปี ที่มาคลอดได้รับบริการให้คำปรึกษาวางแผนครอบครัวร้อยละ100 4. .หญิงอายุ 15-19ปีหลังคลอด/แท้งบุตรได้รับการคุมกำเนิดร้อยละ 100 5. .หญิงอายุ 15-19ปีหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านและติดตามในชุมชนร้อยละ 100 อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำลดลง 1.ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด/หญิงแท้งบุตรที่มารับบริการ 2.แผนการแก้ไขปัญหา 3.ข้อมูลการให้คำปรึกษา 4.ข้อมูลผู้รับบริการคุมกำเนิด 5.ข้อมูลการเยี่ยมบ้าน