การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 11 : System Implementation
Advertisements

Work Breakdown Structure
วงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
Business System Analyst
Chapter 12 : Maintaining Information Systems
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
SCC - Suthida Chaichomchuen
Software Process Models
Waterfall model แบบจำลองน้ำตก
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
ส่วนที่ 1 Introduction to System Development
แบบจำลองกระบวนการซอฟต์แวร์
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Chapter 2 Software Process.
school of Information communication Tecnology,
Verification & Validation K.Mathiang. Objective สามารถอธิบายผังขั้นตอนการออกแบบระบบ ดิจิทัลได้ สามารถอธิบายความเกี่ยวข้องของการทวนสอบ (Verification) กับการออกแบบระบบดิจิทัลได้
Modeling and Activity Diagram
Chapter 2 Software Processes
Chapter 1 Introduction to Software Engineering – Software Engineering Chaichan Kusoljittakorn 1.
Business System Analysis and Design (BC401)
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Database Management System
1 คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ Royal Thai Air Force Academy : RTAFA Royal Thai Air Force Academy : RTAFA.
Standard requirements
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
ลักษณะงานของวิศวกร ซอฟต์แวร์ ● วิเคราะห์และจัดทำความ ต้องการซอฟต์แวร์ ● ออกแบบซอฟต์แวร์ ● พัฒนาซอฟต์แวร์ ● ทดสอบซอฟต์แวร์ ● บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ ● จัดการองค์ประกอบ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 3 กระบวนการพัฒนา(Process Model)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
Information Systems Development
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การทดสอบซอฟต์แวร์ Software Testing
Measuring Agility in Agile Software Development
Food safety team leader
Database Planning, Design, and Administration
Thai Quality Software (TQS)
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
Information System Development
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
Java Development Tools
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
บทที่ 10 การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
Software Evolution แบบจำลองกระบวนการพัฒนา/ผลิตซอฟต์แวร์ (Process Model) แบบจำลองใช้สำหรับชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (key Activities) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดหรือข้อบัญญัติไว้ในแต่ละกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนที่มีลำดับขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน.
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
Generic View of Process
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
Object-Oriented Programs Design and Construction
User Experience Design
Development Strategies
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์ (Software Process)
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
Introduction to Structured System Analysis and Design
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ Design of Computer Instruction

Objective เพื่อศึกษาถึงส่วนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาถึงการนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อศึกษาถึงขั้นตอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์

การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน บทนำ (Introduction) การเสนอเนื้อหา (Presentation of Information) คำถาม-คำตอบ (Question and Responses) การตรวจคำตอบ (Judging Responses) การให้ข้อมูลป้อนกลับสำหรับคำถาม (Providing Feedback about Responses) การให้เนื้อหาเสริม (Remediation)

ส่วนประกอบของบทเรียนคอมพิวเตอร์ บทนำเรื่อง คำชี้แจง บทเรียน วัตถุประสงค์ รายการ ให้เลือก แบบทดสอบ ก่อนบทเรียน เนื้อหา สื่อประกอบ บทสรุป หลังบทเรียน เฟรมช่วยเหลือ

ลักษณะของบทเรียนที่ดี มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์ ของการสอน เป็นการเรียนการสอน รายบุคคล เหมาะสมกับ ลักษณะผู้เรียน บทเรียนที่ดี สร้างความรูสึกใน ทางบวกกับผู้เรียน มีการประเมินผล เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ทางการเรียนการสอน เร้าสนใจของผูเรียน แสดงผลป้อนกลับ ไปยังผู้เรียน

รูปแบบการนำเสนอบทเรียน แบบเนื้อหาอิสระไม่สัมพันธ์กัน แบบเนื้อหาต่อเนื่องหรือสัมพันธ์กัน แบบเนื้อหาทั่วไปไม่เน้นรูปแบบการเรียนการสอน

แบบเนื้อหาอิสระไม่สัมพันธ์กัน บทนำเรื่อง คำชี้แจงบทเรียน วัตถุประสงค์ แบบทดสอบ ก่อนบทเรียน รายการ บทเรียน 1 บทเรียน 2 บทเรียน 3 หลังบทเรียน บทสรุปและ การนำไปใช้งาน

แบบเนื้อหาต่อเนื่องหรือสัมพันธ์กัน บทนำเรื่อง คำชี้แจงบทเรียน วัตถุประสงค์ แบบทดสอบ ก่อนบทเรียน 1 บทสรุปและ การนำไปใช้งาน บทเรียน 1 แบบฝึกหัด ก่อนบทเรียน 2 บทเรียน 2 หลังบทเรียน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน

แบบเนื้อหาทั่วไปไม่เน้นรูปแบบการเรียนการสอน บทนำเรื่อง คำชี้แจงบทเรียน วัตถุประสงค์ รายการ แบบทดสอบ ก่อนบทเรียน บทสรุปและ การนำไปใช้งาน หลังบทเรียน บทเรียน

ขั้นตอนการสร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน  การออกแบบ (Instructional Design)  วิเคราะห์เนื้อหา  ประเมินผล  ศึกษาความเป็นไปได้  ประยุกต์ใช้ในห้องเรียน  ขั้นการสร้าง (Instruction Construction)  กำหนดวัตถุประสงค์  การลำดับขั้นตอนการทำงาน

แนวคิดการออกแบบ การออกแบบตามแนวคิดของวิศวกรรมซอฟท์แวร์ การออกแบบตามแนวคิดของระบบ หลักการของบทเรียนสำเร็จรูป หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน

การออกแบบตามแนวคิดของวิศวกรรมซอฟท์แวร์ เป็นการออกแบบตามที่นักวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ได้คิดต้นขึ้น เช่น The Spiral Method, The Evaluation Model, The Incremental Method หรือ Water Fall Method เป็นต้น

The Linear Model หรือClassic Life Cycle , Waterfall Model จาก Roger s. Pressman . Software Engineering a Practitioner’s Approach

Waterfall Model

คุณลักษณะของ Waterfall Model เป็น Seriesของขั้นตอนการทำงาน คล้ายสายงานการผลิต (Product Line) แต่ละขั้น หน้าที่และ Product ถูกกำหนดอย่างชัดเจน Product ส่วนใหญ่เป็นเอกสาร (Document) Product ที่ผลิตในแต่ละขั้นจะเป็นพื้นฐานสำหรับงานขั้นต่อไป สามารถตรวจสอบความถูกต้องของงานในแต่ละขั้นได้

ข้อดีของ Waterfall Model แบ่งงานยากให้เป็นงานที่เล็ก ง่ายต่อการจัดการ มีการกำหนดProductที่ต้องส่งมอบในแต่ละงาน อย่างชัดเจน

ข้อจำกัดของ Waterfall Model ถ้า ค้นพบข้อผิดพลาดของขั้นที่เสร็จสิ้นแล้ว ไม่สามารถแก้ไขได้ การแก้ไขจำเป็นต้องเริ่มรอบ (Iteration) ใหม่ ระหว่างการทำCoding เจอข้อผิดพลาดในงานออกแบบ ในความเป็นจริง หลังการทำงานในแต่ละขั้นควรสามารถย้อนไปแก้ไขความผิดพลาดในขั้นใดใดก็ได้ก่อนหน้า ดังนั้นในทางปฏิบัติ ขั้นตอนการทำงานใน Waterfall จึงไม่เป็นเชิงเส้น (Linear) ข้อเสียหลักคือ ผู้สอนทดลองใช้ลื่อ ก็ต่อเมื่อถึงขั้นตอนสุดท้าย หากมีบางอย่างที่ไม่ตรงกับความต้องการจะยากต่อการแก้ไข แพง เสียเวลา

Waterfall Model Requirement Analysis V & V Design V & V Implementation Testing V & V Maintenance V & V

WHAT ????? V & V

การตรวจสอบว่า ระบบทำงานตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ? Verification การตรวจสอบว่า ระบบทำงานตามที่กำหนดไว้หรือไม่ ? Are we building the system right ? Boehm

Are we building the right system ? Validation การตรวจสอบว่า ระบบสามารถทำงานตามความต้องการของผู้ใช้หรือไม่ ? Are we building the right system ? Boehm

Evolutionary Process Model อาศัยหลักการการวิวัฒนาการ โดยทำการพัฒนาระบบงานให้เสร็จสิ้นใน version แรก แล้วหาข้อดีข้อเสียในเวอร์ชันนั้น ๆ จากนั้นจึงพัฒนาในเวอร์ชันต่อไป (ผลผลิตในเวอร์ชันต่าง ๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับผลผลิตในเวอร์ชันแรก) Implement Design Analysis Product 1 Implement Design Analysis Product 2 Implement Design Analysis Product 3

หลักเกณฑ์การทำ Evolutionary Prototype (ปั้นมากับมือ) จุดหมายการทำ = ระบบที่สมบูรณ์ ส่งมอบได้ เริ่มสร้างPrototype จากความต้องการที่ชัดเจน ค่อยๆ เพิ่มความต้องการที่ไม่ชัดเจนเข้าไป ตัวอย่าง เขียน Features ต่างๆที่สำคัญ เมื่อลูกค้าตรวจสอบว่าถูก จึงเพิ่ม Featuresจนได้ระบบสุดท้าย

Design Prototyping บ้าน, ถนน, รถยนต์, รถไฟฟ้า แบบจำลองทางวิศวกรรม พิมพ์เขียว แบบจำลอง สร้างช่วงสั้นๆ Design Prototyping

Prototyping Design commit แบบจำลองทางซอฟต์แวร์ เพื่อ Validate Requirement Prototyping Design commit

ขั้นตอนการทำ Prototype Construct Prototype Refine Prototype Check with User No OK ? Yes Specification / System

การสร้างต้นแบบ มี 3 ลักษณะ 1. เพื่อวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ 2. เพื่อขยายให้เป็นระบบที่ปฏิบัติงานจริง 3. เพื่อหาทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการทดลอง

ข้อดีอื่นๆของ Prototype ใช้ Train การใช้สื่อแก่ผู้ใช้พร้อมกับงาน Development ใช้แสดงความก้าวหน้า และความสำเร็จแก่ Project Manager

ข้อเสียของ Prototyping Model การทำ Prototype จะต้องมีบุคลากรที่มีความสามารถด้าน Developmentสูงเพื่อพัฒนา Prototype ได้เร็ว การเปลี่ยนแปลงหรือการเพิ่ม Requirements เพื่อสร้างPrototype หลาย Version ทำให้ได้สื่อที่มีโครงสร้างไม่ดีเท่าใดนัก การผลิต Documentสำหรับ Prototype ในแต่ละVersion จะเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณ

Incremental Process Model จะคล้ายกับ Evolutionary แต่จะแตกต่างกันที่ ผลผลิตที่ได้ในขั้นตอนแรกนั้นยังไม่ใช่ผลผลิตที่สมบรูณ์ทั้งหมดแต่เป็นแค่ส่วนหนึ่งเท่านั้น เมื่อพัฒนาขั้นที่สองก็จะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นอีกจนกลายเป็น ผลผลิตที่สมบรูณ์ Analysis Design Implementation Part 1 Part 2 Part 3 Analysis Design Implementation Part 1 Part 2 Analysis Design Implementation Part 1

Incremental Development ต่างจากแบบจำลองต้นแบบคือสิ่งที่ได้จากขั้นตอนแรกของวิธีการนี้ไม่จำเป็นต้องทราบการทำงานทั้งหมดที่ผู้ใช้ต้องการแต่จะค่อยๆเพิ่มหน้าที่การทำงานอื่นๆในแต่ละส่วนของการทำซ้ำ ใช้ระยะเวลานานในการพัฒนาระบบให้สมบูรณ์ การแบ่งการพัฒนาออกเป็นเฟสจะช่วยลดช่วงเวลาในการพัฒนา ระบบจะถูกแบ่งเป็นระบบย่อยตามหน้าที่การทำงาน

Incremental Development การพัฒนาระบบโดยใช้ Increment model นี้ เหมาะสมกับกรณีที่ผู้พัฒนาในทีมทั้งหมดไม่สามารถทำงานในขณะเวลาเดียวกันได้ ส่วนงานที่ได้ในขั้นตอนแรกอาจใช้ผู้พัฒนาจำนวนน้อย และเพิ่มจำนวนผู้พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละส่วนงานที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้น การทำงานแบบนี้จัดเป็นการวางแผนเพื่อรองรับความเสี่ยงในด้านของการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้

Incremental Development

Customer Communication Evolutionary or Spiral Model Customer Communication Planning Risk Analysis Engineering Construction and Release Customer Evaluation Roger s. Pressman

Evolutionary or Spiral Model

The The Spiral Method

The Spiral Model พัฒนาโดย Boehm ในค.ศ 1988 แบบจำลองบันไดเวียนเป็นแบบจำลองที่รวมกระบวนการทำซ้ำของการสร้างต้นแบบ เข้ากับ Linear sequential model โดยมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว

The Spiral Model แบบจำลองบันไดเวียน แบ่งออกได้เป็นส่วนย่อยๆ โดยปกติจะแบ่งเป็น 3 ส่วน หรือ 6 ส่วนงานเช่น การติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้ใช้ และผู้พัฒนาระบบ การวางแผน การวิเคราะห์ความเสี่ยง วิศวกรรม การสร้างและนำไปใช้ การประเมินผลจากผู้ใช้

The Spiral Model (cont.) แต่ละรอบของการทำซ้ำ วิเคราะห์ความเสี่ยง พัฒนาต้นแบบสำหรับตรวจสอบความเป็นไปได้และความต้องการ เมื่อพบความเสี่ยงผู้จัดการโครงการจะต้องตัดสินใจทีจะกำจัดหรือลดความเสี่ยง

The Spiral Model (cont.) ปัญหาของการใช้แบบจำลองบันไดเวียน ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ คือการโน้มน้าวให้ผู้ใช้ระบบเห็นชอบกับวิธีการที่เป็นกระบวนทำซ้ำแบบมีวิวัฒนาการ ความสำเร็จของการใช้ แบบจำลองบันไดเวียน ผู้พัฒนาจะต้องมีความเชี่ยวชาญในด้านการประเมินผลความเสี่ยง

Evolutionary or Spiral Model เป็น model ที่ใช้ความเสี่ยงเป็นเครื่องตัดสินใจว่าจะกระทำอะไรต่อไป (risk-driven) ขั้นตอนในแต่ละรอบ วิเคราะห์เป้าหมาย แนวทางเลือกต่างๆ เงื่อนไขต่างๆ วิเคราะห์ความเสี่ยง พยายามลดความเสี่ยงนั้น เช่น ทำ Prototype เพื่อทดสอบ พัฒนา product นำ product ให้ลูกค้าทดสอบ

การออกแบบตามแนวคิดของระบบ : หลักการของบทเรียนสำเร็จรูป

การออกแบบ : หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน

สรุปการออกแบบ