หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pitfalls in Quality Management. Objective outcome Clinical excellence Business excellence Subjective outcome Service excellence.
Advertisements

แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ปีงบประมาณ 2558
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
2.4 ประเมินภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์เสี่ยง มีการให้บริการตามมาตรฐานภาวะเสี่ยง ได้รับคำแนะนำเรื่องที่มาพบแพทย์ มี high risk clinic
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
กลยุทธ์การออกแบบ การจัดบริการสนับสนุนการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับห้องเรียนอัจฉริยะ (Strategic for Services Design to Supporting Active Learning in Smart Classroom)
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
วิเคราะห์โรฮิงยา สาระฯหน้าที่พลเมือง.
ไคเซ็น KAIZEN.
นพ.สมศักดิ์ อุทัยพิบูลย์
ตำบลจัดการสุขภาพ.
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
Students’ Attitudes toward the Use of Internet
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
สำหรับผู้บริหาร และอาจารย์
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
การบริหารความเสี่ยง จากการปฏิบัติงานในระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-GP)
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
Educational Standards and Quality Assurance
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
ความสำคัญของ เจ้าหน้าที่ประสานงานประจำคณะ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
การพัฒนาประเด็นนโยบายสำคัญ
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข นางอรวรรณ ดวงจันทร์ สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 28 ธันวาคม 2559 ณ.โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น

หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข เป้าหมายที่ต้องการให้เกิด เพื่อ คนวัยทำงานมีความสุขในการทำงาน เกิดความผูกพันองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ช่วยเพิ่มผลผลิต

“ความสุข” ตามองค์การอนามัยโลก หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข “ความสุข” ตามองค์การอนามัยโลก : สภาพจิตใจที่เป็นสุข : สามารถมีสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้อื่นและรักษาสัมพันธภาพไว้อย่างต่อเนื่อง : ปรับตัวได้ในสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง : มีการจัดการปัญหาในการดำเนินชีวิต : ภาคภูมิใจในตนเอง

หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข ประกอบด้วย 3 กิจกรรมหลัก 4.1 กิจกรรมนันทนาการ เพื่อ * ผ่อนคลายความเครียด * ส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต) เพื่อ * ผู้ปฏิบัติงานทั่วไปได้รับการส่งเสริมให้มีสุขภาพจิตที่ดี มีภูมิคุ้มกันทางใจ * ผู้ปฏิบัติงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต หมายเหตุ กลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้ที่เสี่ยง/ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดสุรา/ยาเสพติด ผู้ที่มีปัญหาหนี้สิน ผู้ที่มีปัญหาครอบครัว เป็นต้น 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว เพื่อ * ให้เกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง * รู้สึกตนเองมีคุณค่า มีความสำคัญและเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร

Key Words เกณฑ์การประเมิน หมวด 4 กายใจเป็นสุข สำรวจความต้องการ ร่วมวางแผน ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ประเมินผล วิเคราะห์ผลเพื่อปรับปรุงและบันทึก

เกณฑ์การประเมิน หมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข

เกณฑ์การประเมินหมวดที่ 4 กายใจเป็นสุข บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.1 กิจกรรมนันทนาการ 4.1.1 มีการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 58. มีการประเมินความต้องการของผู้ปฏิบัติงานด้านกิจกรรมนันทนาการเพื่อการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา ช่วยแนะนำ สปก. ดำเนินการสำรวจความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับด้านกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและเสริมสร้างความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน เช่น งานเลี้ยงปีใหม่, งานแข่งกีฬาสี, กิจกรรม Building Team เป็นต้น โดยรูปแบบการสำรวจความต้องการ เช่น - กล่องรับความคิดเห็น - ทางโทรศัพท์, ทางอีเมล์ - ความเห็นของพนักงานจากการจัด กิจกรรมครั้งที่ผ่านมา เป็นต้น

4.1 กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.1.1 มีการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 59. ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการดำเนินการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา ช่วยแนะนำ สปก. ให้มีการจัดเวทีหรือช่องทางให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีส่วนร่วมของในการดำเนินการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา เช่น Morning Talk, Small Groups Meeting, กล่องรับความเห็น เป็นต้น

4.1 กิจกรรมนันทนาการ(ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.1.1 มีการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 60. มีการดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการในสถานประกอบการตามแผนอย่างต่อเนื่อง เช่น เปิดเพลงผ่านเสียงตามสาย การจัดกิจกรรมรวมกลุ่มเพื่อออกกำลังกาย เล่นดนตรี การจัดการแข่งกีฬาระหว่างองค์กร ช่วยแนะนำ สปก. ดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เช่น - กิจกรรมเปิดเพลงเสียงตามสาย - กิจกรรมออกกำลังกาย/แข่งกีฬา - กิจกรรมเล่นดนตรี/ประกวดร้องเพลง - จัดงานรื่นเริงตามเทศกาลต่างๆ เช่น วันสงกรานต์ วันปีใหม่ เป็นต้น

4.1 กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.1.1 มีการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 61. มีการดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการโดยจัดกิจกรรมเพื่อชุมชน หรือ ดำเนินการร่วมกับชุมชน เช่น การจัดงานรื่นเริงตามเทศกาลต่างๆ เป็นต้น ช่วยแนะนำ สปก. ดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการ โดยจัดกิจกรรมเพื่อชุมชนหรือดำเนินการร่วมกับชุมชน เช่น - กิจกรรมสอนน้องเล่นดนตรี/วาดรูป - กิจกรรมวันเด็ก - การจัดงานรื่นเริงตามเทศกาลต่างๆ เช่น วันสงกรานต์, วันปีใหม่ เป็นต้น รวมถึง มีการสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรม

4.1 กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.1.1 มีการจัดกิจกรรมนันทนาการต่างๆ เพื่อผ่อนคลายความเครียดและส่งเสริมความสามัคคีของผู้ปฏิบัติงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 62. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมและบันทึกการประเมินเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาต่อไป ช่วยแนะนำ สปก. ให้มีการประเมินผลหลังการจัดกิจกรรมและบันทึกเพื่อนำไปสู่การทบทวนแผนงานและปรับปรุงแก้ไข รวมถึงการพัฒนาให้ดีขึ้น -โดยรูปแบบการประเมิน เช่น รายงานสรุปผลการประชุมคณะทำงาน สรุปผลจากการสังเกต การใช้แบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจจากผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น

4.1 กิจกรรมนันทนาการ (ต่อ) จุดอ่อนที่พบบ่อยในการตรวจประเมิน ไม่มีการสำรวจความต้องการจากผู้ปฏิบัติงาน ในการจัดให้มีกิจกรรมนันทนาการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นการกำหนดมาจากผู้บริหาร หรือ ฝ่ายบุคคล ไม่มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมหรือมีการประเมินแล้วแต่ไม่มีการนำผลลัพธ์จากการประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การกำหนดแผนการปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ) เกณฑ์การประเมิน 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ) 87

4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต(และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต) 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 63. มีการประเมินความต้องการของผู้ปฏิบัติงานด้านกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเพื่อการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา ช่วยแนะนำ สปก. ดำเนินการสำรวจความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิต เช่น การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการความเครียดด้วยตนเอง ปัญหาการดื่มสุรา และหรือ การติดบอร์ดให้ความรู้ด้านสุขภาพจิต เป็นต้น โดยรูปแบบการประเมินความต้องการ เช่น - กล่องรับความคิดเห็น - การทำ Morning talk - ความเห็นของพนักงานจากการจัด กิจกรรมครั้งที่ผ่านมา เป็นต้น

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 64. ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการดำเนินการวางแผนจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา ช่วยแนะนำ สปก. ให้มีการจัดเวทีหรือช่องทางให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีส่วนร่วมของในการดำเนินการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา เช่น กิจกรรม Morning Talk, กิจกรรม Small Groups Meeting, กล่องรับความเห็น เป็นต้น

4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 65. มีการให้ความรู้สุขภาพจิตในรูปแบบต่างๆ เช่น ติดโปสเตอร์ความรู้สุขภาพจิต เปิดเสียงตามสาย การจัดอบรมโดยเชิญบุคลากรสาธารณสุขมาให้ความรู้ ช่วยแนะนำและสนับสนุนให้ สปก. มีการให้ความรู้ด้านสุขภาพจิตให้กับผู้ปฏิบัติงานในรูปแบบ ต่างๆ เช่น 1) สนับสนุนการให้ความรู้สุขภาพจิตในรูปแบบOne way เช่น การติดบอร์ดความรู้สุขภาพจิต ให้ความรู้ผ่านเสียงตามสาย จัดมุมอ่านหนังสือห้องสมุด ฯลฯ 2). สนับสนุนวิทยากรในการอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพจิตให้กับผู้ปฏิบัติงาน หรือแนะนำหน่วยงานที่สามารถมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ด้านสุขภาพจิตได้ เช่น ศูนย์สุขภาพจิต รพช สสอ. รพท. รพศ., เป็นต้น

4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 66. มีการประเมินสุขภาพจิต (โดยใช้แบบประเมินตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ดังต่อไปนี้ โดยเลือกใช้ตามความเหมาะสม 1 ครั้งต่อปี (หรือจะประเมินมากกว่านั้นก็ได้ตามความเหมาะสม) *แบบประเมินความสุขคนไทย *แบบประเมินความเครียด -แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ -แบบปัญหาการดื่มสุรา -แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม ช่วยแนะนำ สปก. ให้ดำเนินการประเมินสุขภาพจิตผู้ปฏิบัติงาน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง หรือตามความเหมาะสม เช่น #เพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิต (อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง) โดยการประเมินความสุข และการประเมินความเครียด ให้ครอบคลุมทั้งองค์กร #เพื่อการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ในกลุ่มเสี่ยงตามความเหมาะสม โดยการประเมินความเครียด การประเมินปัญหาการดื่มสุรา การประเมินภาวะซึมเศร้า

ตัวอย่าง แบบประเมินความสุข

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 67. มีการบันทึกข้อมูลผลการประเมินพร้อมทั้งนำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนพัฒนาต่อไป ช่วยแนะนำ สปก. ให้ดำเนินการบันทึกผลการประเมินสุขภาพจิตด้วย และนำผลการประเมินมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำแผน/โครงการ/มาตรการ ในการป้องกันควบคุมปัญหา รวมถึงการนำไปสู่การพัฒนาสุขภาพจิตของผู้ปฏิบัติให้ดีขึ้น และหากพบพนักงานที่มีความเสี่ยงภาวะสุขภาพจิต ต้องมีการวางแผนช่วยเหลือต่อไป

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 68. มีการแนะนำ หรือ ประสานและส่งต่อเพื่อรับการดูแลทางสังคมจิตใจใน Psychosocial clinic ในโรงพยาบาลชุมชน หรือ มีหัวหน้า HR หรือพยาบาลเป็นผู้รับฟังและให้การปรึกษาเบื้องต้น (ในกรณีที่มีปัญหาที่ต้องได้รับการปรึกษา) ช่วยแนะนำ สปก. ควรจัดให้มีบุคลากรที่มีความรู้และสามารถรับฟังและให้คำแนะนำ/ปรึกษา ด้านสุขภาพจิตเบื้องต้นได้ ช่วยแนะนำเรื่องการส่งต่อในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานมีปัญหาที่ต้องการได้รับการปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสุขภาพจิต เช่น มีภาวะซึมเศร้า ติดสุรา มีปัญหาความเครียดสูง เป็นต้น โดยให้ส่งต่อ Psychosocial Clinic ในโรงพยาบาลชุมชน หรือโรงพยาบาลที่สปก.ติดต่ออยู่

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.1 กิจกรรมการประเมินสุขภาพจิต (ตามแบบของกรมสุขภาพจิต) ได้แก่ แบบประเมินความสุข แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเข้มแข็งทางใจ แบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา แบบประเมินภาวะซึมเศร้า (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 69. มีการประชาสัมพันธ์หรือให้ข้อมูลเรื่องการให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์ - การให้บริการปรึกษาทางโทรศัพท์ 1323 ช่วยแนะนำ สปก. ให้มีการประชาสัมพันธ์สายด่วนสุขภาพจิต 1323 เพื่อเป็นช่องทางสำหรับผู้ที่มีเรื่องไม่สบายใจ ทุกข์ใจ อยากขอรับการปรึกษาแบบไม่เผชิญหน้า

ตัวอย่างการดำเนินงาน

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต(ต่อ) 4.2.2 มีห้อง/สถานที่ สำหรับ ประกอบศาสนกิจ Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 70. มีห้องหรือสถานที่สำหรับประกอบศาสนกิจหรือฝึกสมาธิ ตามความเหมาะสม (มีหรือไม่มีก็ได้ ยกเว้น มีผู้ปฏิบัติงานที่นับถือศาสนาอื่น ๆ เช่น อิสลาม) ช่วยแนะนำ สปก. จัดให้มีสถานที่ประกอบศาสนกิจ หรือฝึกสมาธิ ตามความเหมาะสมและบริบทขององค์กร ซึ่งจะมีหรือไม่มีก็ได้ แต่ถ้ากรณีมีผู้ปฏิบัติงานเป็นมุสลิม ต้องจัดสถานที่สำหรับการละหมาดให้ด้วย ตามความเหมาะสม 98

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.3 มีสถานที่หรือมุมพักผ่อนหย่อนใจให้กับพนักงาน Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 71. มีสถานที่หรือมุมพักผ่อนหย่อนใจให้กับผู้ปฏิบัติงานตามความเหมาะสม ช่วยแนะนำ สปก. จัดให้มีสถานที่สำหรับพักผ่อนหย่อนใจของผู้ปฏิบัติงาน ตามความเหมาะสม เช่น ศาลาพักผ่อน มุมนั่งพัก ห้องอินเตอร์เน็ต ห้องนั่งพักผ่อน เป็นต้น 99

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (ต่อ) 4.2.4 มีศูนย์/สถานที่ดูแลเด็กเล็กตามความเหมาะสม Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 72. มีศูนย์ หรือ สถานที่ดูแลเด็กเล็กตามความเหมาะสม หรือ มีสถานที่สะอาดสำหรับแม่ลูกอ่อนเพื่อปั๊มน้ำนม ช่วยแนะนำ สปก. จัดให้มีสถานที่ดูแลเด็กเล็กซึ่งเป็นบุตรหลานของผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งมุมสำหรับแม่ลูกอ่อนปั๊มนม ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของสถานประกอบการนั้นๆ ** ในกรณี สปก. ไม่มีสถานที่เหมาะสม เช่น อาจจะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ เสี่ยงต่ออันตรายของพิษสารเคมีได้ง่าย อาจจะพิจารณาขอรับบริการ/รับการสนับสนุนจากศูนย์เด็กเล็กที่อยู่ใกล้เคียง 100

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต 4.2.5 มีการส่งเสริมกิจกรรมจริยธรรม Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 73. มีการส่งเสริมกิจกรรมจริยธรรม โดยจัดกิจกรรมพัฒนาคุณธรรมที่สอดคล้องกับบริบทของสถานประกอบการ วัด ศาสนสถาน และชุมชน เช่น ส่งเสริมครูพระสอนศีลธรรมในสถานประกอบการ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาจิตใจ กิจกรรมจิตอาสา ค่ายพุทธธรรม ค่ายคุณธรรม จริยธรรม หรือมีแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาในสถานประกอบการ เช่น มีหนังสือธรรมะไว้บริการผู้ปฏิบัติการ ช่วยแนะนำ สปก. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมจริยธรรม พัฒนาคุณธรรมที่สอดคล้องกับบริบทของสถานประกอบการ หรือร่วมกับชุมชน เช่น ทำบุญ จัดกิจกรรมค่ายพุทธธรรม ค่ายคุณธรรม จริยธรรม การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาจิตใจ หรือมีแหล่งเรียนรู้ทางศาสนาในสถานประกอบการ เช่น มีหนังสือธรรมะไว้บริการผู้ปฏิบัติการ มีห้องนั่งสมาธิหรือสวดมนต์ไหว้พระ

จุดอ่อนที่พบบ่อยในการตรวจประเมิน 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต(ต่อ) จุดอ่อนที่พบบ่อยในการตรวจประเมิน การประเมินสุขภาพจิต พบว่า -จำนวนผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับการประเมินยังไม่เหมาะสม -การเลือกใช้แบบประเมินที่เหมาะสม -ไม่สรุปผลการประเมินหรือสรุปผลแล้วแต่ไม่นำมาวิเคราะห์วาง แผนการช่วยเหลือต่อไป -ไม่มีบันทึกผลการวิเคราะห์หรือการให้ความช่วยเหลือ -ไม่มีระบบการให้การปรึกษาเบื้องต้นและหรือระบบส่งต่อ 2. ขาดการประชาสัมพันธ์สายด่วนสุขภาพจิต 1323 ของกรมสุขภาพจิตซึ่งเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถขอรับการปรึกษา 3. ยังขาดการนำผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรมต่างๆ มาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การกำหนดแผนการปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น และต่อเนื่อง

เกณฑ์การประเมิน 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว

4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ) เกณฑ์การประเมิน 4.2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (และป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ) 87

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว 4.3.1 มีการมอบรางวัลหรือเกียรติบัตรแก่พนักงานที่ปฏิบัติงานดีตามสมรรถนะการทำงาน Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 74. มีการประเมินความต้องการของผู้ปฏิบัติงานด้านกิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัวเพื่อการวางแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลา ช่วยแนะนำ สปก. มีการสำรวจความต้องการของผู้ปฏิบัติงานในการจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว เช่น การมอบรางวัลให้แก่ผู้ปฏิบัติดี ขยัน หรือพนักงานดีเด่น, การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ที่ทำงานดี/ ทำความดี มีจรรยาบรรณ การมอบทุนเรียนดีให้กับบุตรผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น โดยการสำรวจอาจจะเป็นรูปแบบ กล่องรับความเห็น การพูดคุยกัน แล้วนำผลการประเมินความต้องการนี้ ไปสู่การจัดทำแผนจัดกิจกรรม กำหนดรูปแบบ และระยะเวลาให้ชัดเจน

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว(ต่อ) 4.3.1 มีการมอบรางวัลหรือเกียรติบัตรแก่พนักงานที่ปฏิบัติงานดีตามสมรรถนะการทำงาน(ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 75. มีการดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัวโดยการให้รางวัลตามแผนอย่างต่อเนื่อง เช่น - สร้างแรงจูงใจให้กับผู้ปฏิบัติงาน เช่น เงินรางวัลสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่ขยันและทุ่มเทให้กับสถานประกอบการ - มอบรางวัลหรือเกียรติบัตร ติดประกาศเชิดชูผู้ปฏิบัติงานดีเด่น ช่วยแนะนำ สปก. มีการจัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจโดยการให้รางวัลกับผู้ปฏิบัติงาน เช่น 1) มอบเงินรางวัลสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่ขยันและทุมเทให้กับสถานประกอบการ มีสวัสดิการ การจัดทัศนศึกษาให้กับผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น 2) มอบเกียรติบัตร ติดประกาศเชิดชูผู้ฏิบัติงานดีเด่น ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่ปฏิบัติดีตามสมรรถนะการทำงาน

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว(ต่อ) 4.3.1 มีการมอบรางวัลหรือเกียรติบัตรแก่พนักงานที่ปฏิบัติงานดีตามสมรรถนะการทำงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 76. มีการดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัวตามแผนอย่างต่อเนื่อง เช่น - เปิดโอกาสและสนับสนุนให้ผู้ปฏิบัติงานเขียนโครงการที่เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ เพื่อของบประมาณของหน่วยงาน เช่น โครงการสำนึกรักบ้านเกิด โครงการปลูกป่า โครงการช่วยเด็กกำพร้า ฯลฯ - กำหนดให้มีวัน “เพราะเราเป็นครอบครัวเดียวกัน” สำหรับผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ และครอบครัว ปีละ 1 ครั้ง - ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือดูงานสถานประกอบการอื่นๆที่ประสบความสำเร็จในเรื่องความสุข เป็นต้น ช่วยแนะนำ สปก. มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว เช่น โครงการสำนึกรักบ้านเกิด โครงการปลูกป่า โครงการช่วยเด็กกำพร้า เปิดโอกาสให้พนักงานได้พัฒนาชุมชน หรือทำบุญให้วัดชุมชนตนเอง เป็นต้น ให้ครอบครัวเข้ามาร่วมทำกิจกรรม เช่นกำหนดให้มีวัน “เพราะเราเป็นครอบครัวเดียวกัน” มีเงินช่วยเหลือทุนเรียนดีสำหรับบุตรผู้ปฏิบัติงาน ทัศนศึกษา จัดเวทีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการาศึกษาดูงานสถานประกอบการอื่นๆ ที่ประสบความสำเร็จในเรื่องความสุขของผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น

มอบทุนการศึกษาแก่บุตรพนักงาน กิจกรรมทัศนศึกษา มอบทุนการศึกษาแก่บุตรพนักงาน

กิจกรรมเสริมสร้างคุณค่าของพนักงานและครอบครัว

บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว (ต่อ) 4.3.1 มีการมอบรางวัลหรือเกียรติบัตรแก่พนักงานที่ปฏิบัติงานดีตามสมรรถนะการทำงาน (ต่อ) Audit Check list. บทบาท/การดำเนินงานของพี่เลี้ยง 77. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมและบันทึกการประเมินเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาต่อไป ให้มีการบันทึกและประเมินผลการจัดกิจกรรมต่างๆทุกครั้ง เพื่อนำไปสู่การทบทวนแผนงานและปรับปรุงแก้ไข รวมถึงการพัฒนาให้ดีขึ้น โดยรูปแบบการประเมิน เช่น การสังเกต, การใช้แบบสอบถามในการสำรวจความพึงพอใจจากผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น

จุดอ่อนที่พบในการตรวจประเมิน 4.3 กิจกรรมการเห็นคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานและครอบครัว จุดอ่อนที่พบในการตรวจประเมิน รูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมคุณค่าของผู้ปฏิบัติงานทางจิตใจ ส่วนใหญ่เกิดจากองค์กร หรือ ผู้บริหารกำหนดเอง ยังขาดการประเมินผลและนำผลลัพธ์ของการประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การกำหนดแผนการปรับปรุงและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

วัฎจักรการดำเนินงานให้เกิดผลลัพธ์ อย่างมีประสิทธิภาพ การนำผลลัพธ์มาวิเคราะห์นำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข พัฒนาให้ดีขึ้น ประเมินความต้องการ การจัดทำแผน/โครงการ P D C A การบันทึก ติดตามและประเมินผลของกิจกรรม ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนที่กำหนดไว้ 109

110