แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
Advertisements

เรื้อรังร่างกาย  หัวใจแข็งแรง สอ. วิหาร ขาว สอน. พิกุล ทอง สอ. ถอน สมอ.
น.พ.อมร นนทสุต.
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
จตุพร ภูทองปิด พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ สังกัดสำนักงานป้องกันควบคุมโรค ที่ 9 พิษณุโลก กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข.
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
เติมสมอง ท้องคุณภาพ เด็กของชาติพัฒนาการ สมวัย นพ สราวุฒิ บุญสุข หัวหน้ากลุ่มอนามัยแม่และเด็ก กรมอนามัย.
Service plan สาขาทารกแรกเกิด จ.เลย
กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ กรอบแนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์ แผนงาน / โครงการ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์แค่ระยะ 20 ปี และการ ปฏิรูปประเทศ.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน
นายนพรุจ ธนาทิพยางกูร
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
ณ โรงแรมบางกอกพาเลส กทม.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
HON’s activities Care and Support Program
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ From Policy to Practice (P2P)
How to decrease no ANC & increase early ANC
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
วิชา กฎหมายกับสังคม (Law and Society) (SSP 2403) อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขา สังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 1-4.
การกระจายของโรคในชุมชน
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา THM 3307 การจัดการงานฝ่ายห้องพัก 
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา ๒๕๖๒
รายวิชา IFM4401 โครงงานการจัดการสารสนเทศ 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
Public Health Nursing/Community Health Nursing
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
สร้างเครือข่ายในชุมชน
๑ ๒ ๓ ๔ ความเป็นมา โครงการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของหมู่บ้าน/ชุมชน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมรับการประกวดจังหวัดและชมรม TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2562.
โดย อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี เขตสาธารณสุขที่ 5 ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี 18 พฤษภาคม 2552

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2552 (ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร ปี 2552(ตค.51-เมย.52) ร้อยละ เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 10

อุบัติการณ์หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร เขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2544 – 2551 ต่อ 1000

อุบัติการณ์หญิงอายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดบุตร รายจังหวัด ปี 2544 – 2551 รายจังหวัด ปี 2544 – 2551 ต่อ 1000 เป้าหมายปี 2552 : ร้อยละ 10

ผลการสำรวจสถานการณ์แท้งในประเทศไทย ปี 2542 1.จากรายงานประจำเดือนตลอดปี 2542 ในรพ.รัฐ 787 แห่ง  อัตราการทำแท้ง 19.54 : 1000 LB. โดยมีสาเหตุจาก เหตุผลทางเศรษฐกิจและสังคม ร้อยละ 60.2 มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ ร้อยละ 39.8 2.จากการสัมภาษณ์ผู้ป่วยแท้ง ใน รพ.134 แห่ง จาก 787 แห่ง ที่มีการแท้งสูงสุด ร้อยละ 40.4 แท้งเนื่องจากการทำแท้ง โดยมีสาเหตุจาก * ปัญหาเศรษฐกิจร้อยละ 56.8 * ปัญหาทางสังคมร้อยละ 36.2 * วางแผนครอบครัวร้อยละ 34.4 * ยังเรียนไม่จบร้อยละ 26.8

อัตราการแท้งของเขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2544 – 2551 ต่อ 1,000 LB

ชนิดของการแท้งของเขตสาธารณสุขที่ 5 ปี 2551 Spontaneous 85% (49.3:1,000 LB) Criminal Abortion 9% (5.3:1,000 LB) Therapeutic 6% (3.6:1,000 LB)

Adolescent / Pre marital Clinic, FC and AFH ยุทธศาสตร์ 1. ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ค้นหาและระบุวัยรุ่นกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน ปรับปรุงวิธีการให้เพศศึกษา เนื้อหาสาระที่เหมาะสม (Sex and relationship education) พัฒนาบริการด้านการให้คำปรึกษาแนะแนวและบริการวางแผน ครอบครัว ออกแบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและการมีส่วนร่วม ของวัยรุ่น เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการ ช่วยเหลือและสนับสนุนพ่อแม่ของวัยรุ่นในการสื่อสาร การสร้างค่านิยมเรื่องเพศ และการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว เสริมสร้างพลัง ทักษะชีวิต และภูมิคุ้มกันให้กับวัยรุ่น Adolescent / Pre marital Clinic, FC and AFH

ศูนย์สามวัยสายใยรักแห่งครอบครัว 2. การดูแลแม่วัยรุ่นและครอบครัว ให้การแนะแนวและช่วยเหลือให้กลับไปเรียนต่อ หรือทำงานที่มั่นคง การทำงานกับพ่อและแม่วัยรุ่น การดูแลเด็ก และช่วยเหลือด้านที่อยู่อาศัย 3. แสวงหาความร่วมมือจากองค์กรต่างๆ ทั้งด้านสาธารณสุข การศึกษา สังคมสงเคราะห์ และอื่นๆ อย่างจริงจัง และพัฒนาศักยภาพบุคลากรของภาคีในการทำงานกับวัยรุ่น ศูนย์สามวัยสายใยรักแห่งครอบครัว

“การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ โครงการ “การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ สำหรับวัยรุ่นและเยาวชน เพื่อป้องกันและลดปัญหา การตั้งครรภ์และผลสืบเนื่อง ” (The strengthening of health system for young people to prevent and reduce teenage pregnancy and its consequences)

วัตถุประสงค์  ประสานความร่วมมือและจัดระบบการบริหารจัดการเครือข่ายด้านสุขภาวะของเด็กวัยรุ่นและเยาวชน  พัฒนาบุคลากรให้สามารถเป็นวิทยากรและดำเนินงานลดปัญหาของวัยรุ่นและเยาวชน  พัฒนาฐานข้อมูลของแม่วัยรุ่น  พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่น

พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดในเขตสาธารณสุขที่ 4 และ 5 ปี 2552 : 3 จังหวัด ได้แก่ สุพรรณบุรี นครปฐม และ เพชรบุรี ปี 2553 : 2 จังหวัด ได้แก่ กาญจนบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2554 : 3 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร

กลวิธี/กิจกรรมการดำเนินงาน สสจ สถาบันการศึกษา อปท. เทศบาล รพ. พมจ. สื่อมวลชน ประกันสังคม NGO 1.สร้างความเข้าใจและประสานความร่วมมือกับองค์กรภาคี สัมมนาผู้บริหาร นิเทศ ติดตาม 2.พัฒนาฐานข้อมูล จัดทำหลักสูตร อบรมครู ก. ขยายผลการอบรม ประเมินผลหลักสูตร 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร รพ. ชุมชน สถาบันการศึกษา 4.พัฒนาระบบบริการให้ครอบคลุม

ช่วงเวลาในการดำเนินงาน แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ช่วงเวลาในการดำเนินงาน พค.52 มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. 1.สัมมนาผู้บริหารองค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง 3 จังหวัดๆละ 1 วัน  2.ประชุมพัฒนาหลักสูตร - อนามัยการเจริญพันธุ์และสารเสพติด - ค่ายแกนนำเยาวชน 3. อบรมวิทยากร (ครู ก.) 2 หลักสูตร 2 รุ่น 4. สนับสนุนวิทยากรครู ก.ขยายผลในพื้นที่ 5. สัมมนาครู ก.เพื่อประเมินผล 6. จัดประชุมทำฐานข้อข้อมูล 7. พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรแก่วัยรุ่น 8. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 9. วิเคราะห์ สรุปรายงาน