Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ที่มา หลักการและ เหตุผล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สามารถทำ ให้การแบ่งปันความรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพราะนอกจากจะ ทำให้เราประหยัดเวลาและสามารถทำลายกำแพงต่างๆ.
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Health Promotion Model (HPM) Pender, Nola J. Dr. Luckwirun Chotisiri. E-mail: luckwirun.ch@ssru.ac.th

หัวข้อการเรียนรู้ ประวัติผู้พัฒนาทฤษฎี ความหมายของสุขภาพ นิยามสุขภาพของ Pender แนวคิดหลักและคำจำกัดความ แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender การนำทฤษฎีไปใช้ในกระบวนการพยาบาล

ผู้พัฒนาทฤษฎีแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model) Pender, Nola J. (The Nurse Theorists V2 - Nola Pender Promo) https://www.youtube.com/watch?v=WYiE8-U0PCg Source: https://prezi.com/e-2exolrloro/penders-health-promotion-model/

Feather’s Expectancy Value Theory ความเป็นมาของทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพ Feather’s Expectancy Value Theory Bandura’s Social Cognitive Theory

ความหมาย การสร้างเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ (Pender, 1996) การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของบุคคล หรือกลุ่มคน เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดี อย่างมีเป้าหมายเท่าที่จะกระทำได้ เพนเดอร์ (Pender, 1987, 2011) สุขภาพ 3 ลักษณะ คือ 1) สุขภาพ เป็นความปกติความ สมดุล และความมั่นคงของร่างกาย 2) สุขภาพ เป็นความสำเร็จของการ พัฒนาสุขภาพจากระดับหนึ่ง ไปอีกระดับหนึ่งที่สูงขึ้น 3) ความหมาย 2 แบบ คือ สุขภาพ เป็นความสมดุลของร่างกาย และเป็น การพัฒนาสุขภาพจากระดับหนึ่ง ไปสู่อีกระดับหนึ่ง

Keywords Person Environment Nursing Health Illness คุณลักษณะของบุคคล (Individual characteristics) ประสบการณ์ของบุคคล(Individual experiences) การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม (Behavioral specific cognitions and affect) พฤติกรรมที่แสดงออกมา (Behavioral Outcome) การรู้ตัวแปร ที่เป็นปัจจัยต่อการเกิดพฤติกรรมจะเป็น ประโยชน์ต่อการออกแบบกิจกรรมเพื่อสนับสนุนให้เกิด พฤติกรรม “แต่ละบุคคลมีลักษณะและความเฉพาะของปัจจัยที่ จะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” Person Environment Nursing Health Illness

ความเป็นมาในการพัฒนาแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender 1975 เน้นการป้องกันและคงไว้ซึ่งสุขภาพของสาธารณชน   1982 เสนอแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ

ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง การเห็นความสำคัญของสุขภาพ (Importance of health) คือ การที่บุคคลมองว่าสุขภาพ คือสิ่งที่มีคุณค่าที่ควรแสวงหา 2. การรับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้ (Perceived control of health) บุคคลรับรู้และเชื่อว่า สามารถเปลี่ยนแปลงสุขภาพได้ตามต้องการ 3. รับรู้ความสามารถของตน (Perceive self – efficacy) บุคคลมีความเชื่อว่า พฤติกรรมสามารถเกิดได้ตามที่บุคคลกำหนด

ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง 4. คำจำกัดความของสุขภาพ (Health) มีตั้งแต่การไม่มีโรคจนถึงสุขภาพสูงสุดทำให้บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 5. การรับรู้สภาวะสุขภาพ (Perceived health status) สภาวะที่รู้สึกดี หรือรู้สึกป่วยสามารถ แยกได้จากพฤติกรรมสุขภาพ 6. การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม (Perceived benefits of behaviors) บุคคลจะมีความโน้มเอียงสูงที่จะเริ่มหรือทำต่อเนื่องในพฤติกรรมนั้น ๆ ถ้ารับรู้ว่ามีประโยชน์ต่อ สุขภาพ 7. การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม (Perceived barriers to health promoting behaviors) ถ้าบุคคลรับรู้ว่าพฤติกรรมนั้นยากลำบาก จะทำให้มีความตั้งใจลดลงในการปฏิบัติตาม

กรอบแนวคิด Health Promotion Model ปรับปรุงใหม่ (1996) พฤติกรรมเดิม (Prior related behavior) คือ พฤติกรรมที่เป็นองค์ประกอบ มีผลโดยตรงและโดยอ้อม และมีความ เชื่อมโยงกับการรับรู้ถึงความสามารถของตน พฤติกรรมในอนาคตจะได้รับอิทธิพลจาก ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการ กระทำที่คล้ายคลึงในอดีต 2. กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับผล(Activity-related affect) ความรู้สึกทั้งด้านบวกและด้านลบ ในพฤติกรรมบางอย่าง มีอิทธิพลต่อ พฤติกรรม และมีอิทธิพลโดยอ้อมถึงการรับรู้ใน ความสามารถของตน

กรอบแนวคิด Health Promotion Model ปรับปรุงใหม่ (1996) 3. การยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ(Commitment to a plan of action) แนวคิดที่ตั้งใจเป็นแผนกลยุทธ์ที่เป็นเหตุนำมาซึ่งความตั้งใจที่จะเป็น แผนในการปฏิบัติซึ่งเกิดขึ้นเองหรือ บุคคลอื่นมีส่วนรับรู้ 4. ความต้องการ ความชอบที่เกิดขึ้นแทรกทันที (Immediate competing demands and preferences) การที่บุคคลจะเลือกปฏิบัติ ความต้องการที่จะปฏิบัติอาจไม่สำเร็จ เพราะ ไม่สามารถจัดการกับสิ่งแวดล้อมได้ ความชอบเป็นสิ่งที่มีพลังสำคัญต่อการ เลือกปฏิบัติ เช่น บางครั้งตั้งใจจะไปออกกำลังกาย แต่กลับแวะเดินเที่ยวซื้อ ของใน ศูนย์การค้า เป็นต้น

ความเป็นมา ในการพัฒนาแบบจำลอง การส่งเสริมสุขภาพของ Pender แนวปฏิบัติ 9 องค์ประกอบ ในการประเมิน (Pender et al., 2002, p.119) ความเป็นมา ในการพัฒนาแบบจำลอง การส่งเสริมสุขภาพของ Pender 1. การประเมินแบบแผนสุขภาพ 2. การประเมินความพร้อมด้านร่างกาย 3. การประเมินด้านอาหาร 4. การประเมินพฤติกรรมเสี่ยง 5. การทบทวนความเครียดในวิถีชีวิต 6. การประเมินสุขภาพในมิติจิตวิญญาณ 7. การทบทวนระบบสนับสนุนทางสังคม 8. การทบทวนความเชื่อด้านสุขภาพ 9. การประเมินวิถีชีวิต ประยุกต์มาใช้ในการส่งเสริม การออกกำลังกาย การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต    

ความเป็นมาในการพัฒนาแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของ Pender 2006 แบบจำลองฉบับปรับปรุง   

พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ Pender et al. (2006) การกระทำที่มีเป้าหมายสำคัญในการยกระดับความเป็นอยู่ที่ดี และการบรรลุ เป้าหมายในการมีสุขภาพที่ดีของบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม ควบคุมดูแลสุขภาพให้ได้ตามเป้าหมาย และปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆ จนเป็นแบบ แผนการดำเนินชีวิต

แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised:2006)  ที่มา          (Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50); https://www.gotoknow.org/posts/115422  

บทบาทพยาบาลกับการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) “พยาบาล” มีบทบาทในการดูแลด้านสุขภาพ ต้องการองค์ความรู้ในการนำมาออกแบบกิจกรรม หรือวางแผนให้บุคคล ชุมชน ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง

การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 1. ทบทวน และสรุปข้อมูลจากการประเมิน 2. สร้างความเข้มแข็ง และเสริมสมรรถนะของผู้รับบริการ 3. ระบุเป้าหมายสุขภาพ และพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยนแปลง

4. ระบุผลลัพธ์พฤติกรรมและสุขภาพที่บ่งชี้ว่า การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 4. ระบุผลลัพธ์พฤติกรรมและสุขภาพที่บ่งชี้ว่า แผนประสบความสำเร็จตามมุมมองของผู้รับบริการ 5. วางแผนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากพื้นฐานความชอบของผู้รับบริการ ภายใต้ระยะการเปลี่ยนแปลง 6. แสดงประโยชน์ของการเปลี่ยนแปลง และระบุแรงจูงใจ เพื่อเปลี่ยนแปลงจากมุมมองของผู้รับบริการ

การวางแผนการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ของ Pender ภายใต้การมีส่วนร่วม ทั้งผู้รับบริการ และพยาบาล กำหนดไว้ 9 ขั้นตอน (Pender et al., 2002, p.149) 7. ให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม และปฏิสัมพันธ์ที่เอื้อหรือเป็นอุปสรรค ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 8. กำหนดกรอบช่วงเวลาในการปฏิบัติ 9. ยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ และสนับสนุนสิ่งที่เป็นความจำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมายของผู้รับบริการ

รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender’s Health Promoting Model) ฉบับปรับปรุง 2006

รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ (Pender’s Health Promoting Model) ฉบับปรับปรุง 2006 1. ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง (7 ข้อ) 2. สาระของทฤษฎี แผนภาพของแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised)  ที่มา    Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50 3. มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง (3 มโนทัศน์หลัก)     1. ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (Individual Characteristics and Experiences) 2. ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect) 3. พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome)

แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพฉบับปรับปรุง (Health Promotion Model Revised:2006)  SOURCE: Pender, N.J., Murdaugh, C.L. & Parsons, M.A., 2006 : 50); https://www.gotoknow.org/posts/115422  

เว็บไซต์แนะนำ https://deepblue.lib.umich.edu/bitstream/handle/2027.42/85350/HEA LTH_PROMOTION_MANUAL_Rev_5- 2011.pdf?sequence=1&isAllowed=y