การประเมินผลการเรียนรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

ผศ.ดร.ศิรภัสสร วงศ์ทองดี
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ส่วนที่ 2 การประเมินกับ การบริหารงานบุคคล รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
หลักการจัดการเรียนการสอน
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
The Revised Bloom’s Taxonomy
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ในอุดมศึกษาไทย วิจารณ์ พานิช กรรมการบริหารสถาบันคลังสมองฯ นำเสนอในการประชุมเพื่อนําเสนอผลจากการดําเนินงานตามโครงการปฎิบัตกิ าร ภายใต้หลักสูตรคณบดีเพื่อการเปลี่ยนแปลงรุ่น.
การวัดและประเมินผล การเรียนรู้
จำ Remember - Knowledge เข้าใจ Understanding ประยุกต์ Application วิเคราะห์ ( ความรู้ ) Analysis สังเคราะห์ ( เป็นความรู้ ใหม่ ) Synthesis 6 ขั้น.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
รศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
Active Learning ผศ. ดร. เยาวเรศ ภักดีจิตร ภาควิชาหลักสูตร และการสอน.
พงษ์ศักดิ์ วรรณไกรโรจน์ บรรยายในการอบรม “ การจัดทำแผนการสอนใน คลินิกสำหรับอาจารย์แพทย์ ” กรมอนามัย 8-9 ก. ย การจัดการเรียนการสอน 1.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
ระดับหลักสูตร ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การจัดการองค์ความรู้
การวัดและประเมินการปฏิบัติ
การวัดและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
บทที่ 4 ทัศนคติของลูกค้า
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
Hilda  Taba  (ทาบา).
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
การวัดผลและประเมินผลพฤติกรรมของมนุษย์
การประเมินการเรียนการสอน
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
Family assessment.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการเรียนรู้ รศ.บรรพต พรประเสริฐ

การจัดการเรียนการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้ เชิงพฤติกรรม การวัดผลและ ประเมินผล กิจกรรม การเรียนรู้

1. การสังเกต 2. การสัมภาษณ์ 3. แฟ้มสะสมผลงาน 4. แบบประเมินพัฒนาการ 5. แบบทดสอบ 6. การประเมินตามสภาพจริง

ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเรียนรู้กับ การทดสอบการวัดผลประเมินผล หลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การทดสอบ/การวัดผล/การประเมินผล

พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain) พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)

พฤติกรรมการรับรู้ด้านพุทธิพิสัย 6 ระดับ ความรู้ความจำ (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนำไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation)

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Cognitive Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ ความรู้ (Knowledge) ความสามารถในการจำความรู้ต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มา นิยาม, จับคู่, เลือก, จำแนก, บอกคุณลักษณะ, บอกชื่อ, ให้แสดงรายชื่อ, บอกความสัมพันธ์, ฯลฯ ความเข้าใจ (Comprehension) ความสามารถในการแปลความ ขยายความ และเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มา แปลความหมาย, เปลี่ยนแปลงใหม่, แสดง, ยกตัวอย่าง, อธิบาย, อ้างอิง, แปลความหมาย, สรุป, บอก, รายงาน, บรรยาย, กำหนดขอบเขต, ฯลฯ การนำไปใช้ (Application) ความสามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาเป็นวัตถุดิบก่อให้เกิดสิ่งใหม่ ประยุกต์ใช้, จัดกระทำใหม่, แก้ปัญหา, จัดกลุ่ม, นำไปใช้, เลือก, ทำโครงร่าง, ฝึกหัด, คำนวณ, ฯลฯ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Cognitive Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การวิเคราะห์ (Analysis) ความสามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วนแล้วทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์คือแตกต่างกันอย่างไร จำแนก, จัดกลุ่ม, เปรียบเทียบ, สรุปย่อ, บอกความแตกต่าง, อธิบาย, วิเคราะห์, แยกส่วน, ทดสอบ, สำรวจ, ตั้งคำถาม, ตรวจสอบ, อภิปราย, ฯลฯ การสังเคราะห์ (Synthesis) ความสามารถในการรวมความรู้ต่าง ๆ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ การออกแบบ, วางแผน, การแก้ปัญหา, การผลิต, การสร้างสูตร, ฯลฯ การประเมินค่า (Evaluation) ความสามารถในการตัดสินคุณค่าอย่างมีเหตุมีผล ตั้งราคา, ตัดสินคุณค่า, พิจารณา, สรุป, ประเมิน, ให้น้ำหนัก, กำหนดเกณฑ์, การเปรียบเทียบ, แก้ไข, ปรับปรุง, ให้คะแนน

3. การนำไปใช้ (Application) 2. ความรู้ เข้าใจ (Comprehension) ระดับสูง ความคิด 6. การประเมิน (Evaluation) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 3. การนำไปใช้ (Application) 2. ความรู้ เข้าใจ (Comprehension) พื้นฐาน 1. ความรู้ ความจำ (Knowledge)

ตัวอย่างประกอบด้านความรู้ การจำแนกแยกแยะ จัดกลุ่ม จัดหมวดหมู่ การแยกแยะระหว่างเรื่องจริงกับเรื่องจินตนาการ การแยกแยะระหว่างเรื่องจริงกับความคิดเห็น การให้คำจำกัดความและตัวอย่าง การสรุป ระบุใจความสำคัญ

ตัวอย่างประกอบด้านความเข้าใจ การเปรียบเทียบ และเปรียบต่าง การระบุโครงสร้าง ขั้นตอนและกระบวนการ ความสัมพันธ์เชิงรูปร่าง ลักษณะ การเปรียบเทียบความหมายคำ การหาใจความสำคัญ การระบุความสัมพันธ์

ตัวอย่างประกอบด้านการนำไปใช้ การเรียงลำดับ การคาดคะเน ความเป็นไปได้ การอนุมาน การเปลี่ยนความหมายของคำ

ตัวอย่างประกอบด้านการวิเคราะห์ การเติมให้สมบูรณ์ ความเกี่ยวข้องของข้อมูล รูปธรรมหรือนามธรรม การกระทำที่เป็นเหตุเป็นผล การระบุส่วนประกอบ รายละเอียดและเหตุการณ์ที่เป็น เหตุเป็นผลกับเนื้อเรื่อง การพิจารณาข้อความว่าจริงหรือไม่

ตัวอย่างประกอบด้านการสังเคราะห์ การสื่อสารทางความคิด การวางแผน การสร้างสมมุติฐาน การหาข้อสรุป การเสนอทางเลือก

ตัวอย่างประกอบด้านการประเมิน การตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลทั่ว ๆ ไป การตัดสินใจบนพื้นฐานของกฎกติกา หรือแนวทางที่กำหนดให้ การตัดสินบนพื้นฐานของความถูกต้อง การตัดสินใจโดยพิจารณาทางเลือก การระบุคุณค่า การระบุถึงความรู้สึก หรืออารมณ์เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Affective Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การรับรู้ (Receive) มีความตั้งใจสนใจในสิ่งเร้า การยอมรับ, เลือก, ถาม, ฟัง, ตั้งใจ, ฯลฯ การตอบสนอง (Respond) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น การส่งเสริม, การบอก, สนับสนุน, อาสาสมัคร, เล่าเรื่อง, ช่วยเหลือ ฯลฯ เห็นคุณค่า (Value) เห็นคุณค่าในสิ่งที่กระทำ รู้สึกซาบซึ้งยินดีและมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งนั้น เลือก, แบ่งปัน, สนับสนุน, เห็นคุณค่า, ซาบซึ้ง, ร่วมสนุก, ฯลฯ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Affective Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การจัดระบบ (Organize) การเห็นความแตกต่างในคุณค่า, การแก้ไขความขัดแย้งของสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่อยู่ภายใน, การสร้างปรัชญาหรือเป้าหมายให้กับตนเอง การป้องกัน, สรุปความ, ความสัมพันธ์, เรียงอันดับ, ทำให้เป็นระบบ ฯลฯ บุคลิกภาพ (Characterize) การทำให้เป็นคุณลักษณะหนึ่งของชีวิต การจำแนก, การประพฤติตน, ความสมบูรณ์, การปฎิบัติ, การตรวจสอบ ฯลฯ

ด้านเจตพิสัย (Affective Domain) การมีลักษณะนิสัย การจัดระบบ การสร้างค่านิยม การตอบสนอง การยอมรับ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Psychomotor Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การเลียนแบบ (Imitation) สามารถที่จะสังเกตและทำตาม การดู, การทำตาม, ฯลฯ การลงมือปฏิบัติ (Manipulation) เน้นทักษะที่สามารถทำได้ การจัดกระทำ, การปฏิบัติ ฯลฯ ความถูกต้อง (Precision) เน้นความถูกต้องในการแสดงพฤติกรรมและควบคุมและลดความผิดพลาด การปฏิบัติ, ทักษะที่ถูกต้อง, ฯลฯ ความชัดเจนในการปฏิบัติ (Articulation) เน้นถึงการเรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอนที่มี การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ฯลฯ ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization) การแสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ การปฏิบัติจนเป็นนิสัย, การทำให้เป็นลักษณะนิสัยส่วนตัว

ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ทำเป็นธรรมชาติ ทำต่อเนื่อง ทำอย่างถูกต้อง ทำตามแบบ เลียนแบบ

จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม เป็นจุดมุ่งหมายที่กำหนดขึ้นโดยบ่งถึงพฤติกรรมของผู้เรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน โดยเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมาภายนอก สามารถสังเกตได้ วัดและประเมินได้

องค์ประกอบของจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม 1) พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) 2) สถานการณ์หรือเงื่อนไข (Situation or Condition) 3) เกณฑ์ (Criteria)

ประโยชน์ของมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม ช่วยในการจัดทำหลักสูตร/ปรับปรุงหลักสูตร ช่วยให้ผู้สอนกำหนดแผนการสอนได้อย่างชัดเจน ช่วยให้ผู้เรียนทราบจุดหมายปลายทางที่ตนเองต้องทำได้ ทราบจุดเด่นจุดด้อยของตนเอง ช่วยประเมินผลการสอน ช่วยในการวัดและประเมินผล

พฤติกรรมที่คาดหวัง สถานการณ์ เกณฑ์ พฤติกรรมที่ต้องการวัดคืออะไร มีลักษณะอย่างไร วัดโดยวิธีใด และใช้เครื่องมืออะไร สถานการณ์ การวัดพฤติกรรมเหล่านี้ต้องเตรียมอุปกรณ์อะไร ดำเนินการวัดอย่างไร เกณฑ์ ตัดสินว่าผู้เรียนเกิดพฤติกรมที่คาดหวังตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่

ศัพท์ที่ควรรู้ การประเมิน – กะประมาณค่า ตีค่า หรือคุณภาพเท่าที่ควรจะเป็น การวัด – การตัดสินค่าหรือคุณภาพของสิ่งๆหนึ่งภายใต้ข้อมูลที่มีอยู่ เครื่องมือ – สิ่งที่ใช้วัด ประเมิน ความสามารถ เกณฑ์ – สิ่งที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการเปรียบเทียบและเป็นหลักในการ วัด ประเมิน

การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (formative assessment) ประเมินตลอดเวลาไม่ใช่เฉพาะปลายภาค คำนึงถึงตัวนักเรียนเป็นสำคัญ ประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย ไม่ได้มุ่งตัดสิน แต่ มุ่งประเมินเพื่อพัฒนา ประเมินจากหลายฝ่าย เช่น ครู นักเรียน เพื่อน

การประเมินตามสภาพจริง (Authentic assessment) วินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทักษะ เจตคติ ที่แท้จริงของผู้เรียน ประเมินความรู้ ความสามารถและทักษะต่าง ๆ ของผู้เรียนในสภาพที่สอดคล้องกับชีวิตจริง ใช้เรื่องราว เหตุการณ์ สภาพจริงหรือคล้ายจริงเป็นสถานการณ์ในการประเมิน ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ แสดงพฤติกรรม หรือสร้างชิ้นงาน กระบวนการวัดและประเมินผล และ กระบวนการเรียนการสอนเป็นกระบวนการเดียวกัน

ประเมินแบบเดิม และการประเมินตามสภาพจริง 1. ประเมินพัฒนาการของผู้เรียนมากกว่าประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด 1. ประเมินตามเกณฑ์ที่ผู้สอนตั้งไว้ 2. เน้นทักษะการคิดขั้นสูง 2. เน้นทักษะการคิดขั้นต่ำ 3. เน้นการประเมินในภาพรวม 3. เน้นการประเมินเพียงบางส่วน เฉพาะจุด 4. ประเมินจากชิ้นงาน และ พัฒนาการของงาน 4. ประเมินจากการทดสอบเท่านั้น 5. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดเกณฑ์ และการประเมิน 5. ผู้สอนกำหนดเกณฑ์การประเมิน 6. มีวิธีการหาคำตอบหลากหลาย 6. มีวิธีการหาคำตอบแบบเดียว

สวัสดี.........