สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์ นพ.สุรชัย ปัญญาพฤทธิ์พงศ์ 2017/11/17
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 1.เลือกตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารระดับสูง(ผอก.) ใช้ติดตามกำกับ ประเมินผลงานระดับองค์กร 4.1.ผลด้านการดูแลผู้ป่วย เช่น - อัตราตาย - อัตรา Revisit ใน 24 ชั่วโมง - อัตรา Re-admit ใน 28 วัน - ตัวชี้วัดเฉพาะโรค
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 4.2.ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆ เช่น - ความพึงพอใจแต่ละกลุ่ม 4.3.ผลด้านการเงิน เช่น - Quick Ratio - Current Ratio
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 4.4.ผลด้านทรัพยากรบุคคล เช่น - ความพึงพอใจของบุคลากรแต่ละกลุ่ม - อัตราการลาออก - การพัฒนาความรู้ความสามารถ - อัตรากำลัง / ความเพียงพอ
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 4.5.ผลด้านระบบและกระบวนการสำคัญ เช่น - ระบบบริหารความเสี่ยง - ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ - ระบบการจัดการด้านยา - ระบบสาธารณูปโภค - ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ - ระบบห้องปฏิบัติการ
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 4.6.ผลด้านการนำ - อัตราการบรรลุผลตามแผนกลยุทธ์ - ด้านจริยธรรม - ด้านการอนุรักษ์พลังงาน / พิทักษ์สิ่งแวดล้อม
1.ผลลัพธ์การดำเนินงาน SPA Part 4 4.7.ผลด้านการสร้างเสริมสุขภาพ - ผลลัพธ์การประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ด้านบุคลากร - ด้านผู้ป่วย - ด้านชุมชน
2.บันทึกเวชระเบียน 2.1.ความสมบูรณ์ของบันทึกเวชระเบียน - ตาม สปสช. 2.2.คุณภาพบันทึกเวชระเบียน (ที่สะท้อนคุณภาพการรักษาพยาบาล ตามมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ) - ตามแพทยสภา - ตามสภาการพยาบาล
เป้าหมายการบันทึกเวชระเบียน 1.ใช้สื่อสารระหว่างผู้รักษาพยาบาลในขณะรักษา เพื่อทราบปัญหาของผู้ป่วยและวางแผนการรักษาพยาบาลร่วมกัน 2. ใช้ประเมินคุณภาพการรักษาพยาบาล 3. ใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย
การทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วยจากเวชระเบียน - การทบทวนทางคลินิก - ทบทวนโดยทีมสหวิชาชีพ ต้องมีแพทย์เป็นผู้ทบทวนด้วย - เลือกเวชระเบียนที่มีโอกาสพบความผิดพลาด(Error) และจุดอ่อนของระบบงาน เช่น เลือกตาม Trigger Tool
ผลลัพธ์การทบทวน 1.ข้อผิดพลาด (Error) Preventable AE 2.จุดอ่อนของระบบงานที่เป็นปัจจัยให้เกิดอุบัติการณ์ 3.ข้อจำกัดของบุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ โครงสร้างกายภาพสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติการณ์
3.RCA การวิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริง / เชิงระบบ -เชื่อมโยงอุบัติการณ์ว่าเกี่ยวข้องกับระบบอะไรบ้าง เช่น ยา, IC, เครื่องมือแพทย์, HRD, นโยบาย -สรุปผลการวิเคราะห์ราย Case -สรุปผลการวิเคราะห์ในภาพรวม -สรุประบบ / กระบวนการ / โครงสร้างกายภาพสิ่งแวดล้อมที่ควร / ต้องแก้ไข
4.Clinical Tracer ตามรอยกลุ่มโรคสำคัญทุก Care Process เพื่อจัดระบบ/กระบวนการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคนั้น อย่างมีประสิทธิผล วิธีการตามรอยโดยการติดตามดูการปฏิบัติงานจริง และใช้บันทึกเวชระเบียนเป็นแนวทางในการทบทวน
5.การวัด วิเคราะห์ จัดการความรู้ 5.การวัด วิเคราะห์ จัดการความรู้ ตัวชี้วัด 1.ติดตามประเมินการบรรลุเป้าหมาย 2.วิเคราะห์ให้เป็นสารสนเทศที่สามารถใช้เป็นประโยชน์ใช้เป็นประเด็นในการเรียนรู้และปรับระบบงาน *** การวัด วิเคราะห์ จัดการความรู้ นำสู่การปรับระบบงาน
6.การบูรณาการ HA - เมื่อการทำงานมีปัญหา ถาม HA ว่ามีแนวทาง ในการแก้ปัญหาอย่างไร - เมื่ออยากให้การทำงานดีขึ้น ถาม HA ว่ามีแนวทางในการพัฒนาอย่างไร
HACC นครชัยบุรินทร์ กระตุ้นการพัฒนาคุณภาพ โดยการสร้างเครือข่าย เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน อย่างต่อเนื่อง