นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะพันธุกรรมนอกเหนือกฎของเมนเดล
Advertisements

Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Computer Programming for Engineers
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล บัณฑิต วิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาล ศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557.
วิจัยเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาธุรกิจทั่วไป
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
การประเมินภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จะสร้าง
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
การกระจายอายุของบุคลากร
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ข้อสังเกตในการจัดทำผลงานทางวิชาการ
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
คะแนนและความหมายของคะแนน
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
Miss. Teeranuch Sararat Teerapada Technological College
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
Elements of Liquid-Level System
การกระจายอายุของบุคลากร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Don Bosco Banpong Technological College
Don Bosco Banpong Technological College
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ทาง DNA ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
วิทยาลัยเทคโนโลยีพาณิชยการลานนา
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เทคนิคการทำวิจัยสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
การตรวจร่างกายทั่วไป และการตรวจทางห้องปฏิบัติการในสตรีตั้งครรภ์
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู การเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น ของนักเรียนระดับชั้นปวช.1 ที่เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์และเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing ผู้วิจัย นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู www.mbk.ac.th

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันผลสัมฤทธิ์ทางด้านการเรียนของนักเรียนในวิชาพิมพ์ดีดต่ำลง นักเรียนในแต่ละปีมีทักษะด้านการพิมพ์ดีดทั้งในเรื่องอัตราความเร็วและความแม่นยำลดลงต่ำกว่าเกณฑ์ พิมพ์งานตามรูปแบบไม่ได้มาตรฐาน ใช้เวลาพิมพ์นาน ถ้านักเรียนมีพื้นฐานทักษะการพิมพ์ดีดไม่ เป็นปัญหาต่อเนื่องไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์อีกด้วย ซึ่งพบว่านักเรียนไม่ให้ความสำคัญต่อการเรียนวิชาพิมพ์ดีด ไม่ตั้งใจฝึกทักษะการพิมพ์ เบื่อหน่ายเรียนวิชาพิมพ์ดีด จึงส่งผลให้นักเรียนสอบไม่ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยการ “เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางวิชาพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้นของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์และเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing ”

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1.เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้นของ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ก่อนและหลังเรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์ แป้นพิมพ์ดีดและการเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้นของนักเรียนชั้นปวช.1 เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ดีดและเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ลงเรียนวิชาพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 268 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนระดับชั้น ปวช.1 จำนวน 2 ห้องเรียน 62 คน ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มที่ 1 เรียนด้วยการใช้เกรมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ กลุ่มที่ 2 เรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์คะแนนจากแบบทักษะการพิมพ์สัมผัสและการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยเบื้องต้นของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ตัวแปร คะแนนเต็ม วิธีการสอน เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ โปรแกรม Marker Typing S.D. S.D ทักษะการพิมพ์สัมผัส 10 7.09 0.94 6.64 0.91 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7.22 0.88 6.70 0.82

จากตาราง พบว่า ค่าเฉลี่ยของทักษะการพิมพ์สัมผัสและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำแนกตามวิธีการสอน นักเรียนที่เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ มีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 7.09 และ 7.22 ตามลำดับ และนักเรียนมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่ากับ 0.94 และ 0.88 ตามลำดับ นักเรียนที่เรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing มีค่าเฉลี่ยของคะแนนทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 6.64 และ 6.70 ตามลำดับ และนักเรียน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เท่ากับ 0.91 และ 0.82 ตามลำดับ

เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ ผลการเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสของนักเรียนด้วยการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แตกต่างกัน เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ โปรแกรม Marker Typing Sd t Prob คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย 220 7.09 208 6.70 0.38 1.93* .000

จากตาราง พบว่า นักเรียนที่เรียนเรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ และเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing มีผลการเรียนรู้แตกต่างกันทั้ง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อทดสอบพบว่า นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม มีทักษะการพิมพ์สัมผัสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .0001)

สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาการเปรียบเทียบทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ดีดและการเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing สรุปผลได้ดังนี้ 1. นักเรียนที่เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ดีดและการเรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing มีคะแนนทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. นักเรียนที่เรียนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ดีด มีทักษะการพิมพ์สัมผัสสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วยโปรแกรม Marker Typing อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1. จากผลการวิจัยพบว่าวิธีการสอนที่แตกต่างกันทำให้นักเรียนการพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัสและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่างกัน ดังนั้นครูผู้สอน ควรเลือกวิธีการสอนที่ทำให้นักเรียนสามารถพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัสและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเลือกใช้วิธีการสอนให้สอดคล้องกับนักเรียนและธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ ทำให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืนและพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน 2. การสอนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ และการใช้โปรแกรม Marker Typing เป็น เป็นการสอนที่เน้นให้นักเรียนรู้จักใช้กระบวนการคิดหาและจดจำแป้นพิมพ์ดีดและสามารถจดจำอักษรต่าง ๆ ที่อยู่บนแป้นพิมพ์ขึ้นดังนั้นครูผู้สอนจึงควรกระตุ้นให้นักเนียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ 3. การสอนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์และการสอนด้วยโปรแกรม Marker Typing ผู้วิจัยจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนเป็นกลุ่มแบบคละความสามารถ ครูผู้สอนสามารถที่จะเปลี่ยนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรายบุคคลตามความเหมาะสม

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรทำการศึกษาวิธีการสอนด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ ที่สอดแทรกหรือบูรณาการกับเทคนิคใหม่ๆ ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัสและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้สูงขึ้นต่อไป 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบการจัดกิจกรรมการเรียนการด้วยการใช้เกมส์จิกซอว์แป้นพิมพ์ และการสอนด้วยโปรแกรม Marker Typing กับนักเรียนห้องระดับชั้นอื่น ๆ