ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 4 PHP with Database
Advertisements

Online Public Access Catalog
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
By Dr Nongyao Premkamolnetr KMUTT Library
การเขียน PHP ติดต่อ MySQL
MySQL.
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
– Web Programming and Web Database
Php with Database Professional Home Page :PHP
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
แนะนำภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูล
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
การใช้ PHP และ MySQLสร้าง”Web-board”
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
World Wide Web. You will know หัวเรื่องหลักๆทั้งหมด 5 หัวข้อดังนี้ Basic Web Concept Web application in daily life Essential Web Developer Language How.
PHP with MySQL.
Permission&User command/ LAMP. User command adduser [username] [option] passwd [username] deluser [option] [username]
Database Management SQL Security.
FRONT-END Beautiful & Responsive website. WEB STRUCTURE FRONT-END BACK-END SYSTEM MOBILE FRONT-END HTML CSS PHP Others lang. Ruby, Python java Others.
CHAPTER 1 INTRODUCTION TO JAVA WEB PROGRAMMING Wattanapong suttapak, Software Engineering, school of Information communication Technology, university of.
ASP.NET Uthai ShiangJan Information and Communication Technology.
ความเสี่ยง Risk. How To Hack ?  วิธีการ Hack คือ ไปอ่านค่า config อีก Web หนึ่ง ซึ่งอยู่ใน host เดียวกัน โดยตัว Host Server ของอาจารย์ ไม่ได้ทำระบบป้องกันในการเข้าถึง.
PHP Update : August 23,2012.
1 การใช้งานระบบจัดการ ฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin.
Thai CV Risk score จิรพงษ์ แสงทอง
การพัฒนาห้องสมุด ด้วยเทคโนโลยี. ระบบสืบค้นสารสนเทศภายใน(OPAC)
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่ โปรแกรมจัดเก็บ เอกสารให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้แก้ไข ครับ สำหรับใครที่มีเอกสารเยอะๆ และเวลาจะ นำมาใช้ทีนึงแล้วรู้สึกอยากต่อการเข้าถึง.
การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Internet Programming  .
Chapter 8 WWW.
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
เทคนิคการนำ Open Source Code มาใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์อย่างปลอดภัย
และการใช้เครื่องมือในการสร้างเว็บเพจ
การออกแบบเว็บไซต์.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
.:: ทรงปัญญา ศรัทธาธรรม นำสังคม .::
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
SQL – Web Programming and Web Database
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
Introduction TO Web PRogramming
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
SGS : Secondary Grading System
รายงานการปฏิบัติงาน งานบริหารและธุรการ ฤ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
“No time to go to library use MSU LibraryGO. App”
นางสาวชุติมา โพธิ์ป้อม นางสาวรุ่งนภา นาคเพ่งพิศ
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
แนวทางการจัดพื้นที่เรียนรู้สำหรับนักศึกษาพิการ ในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Guidelines for organizing learning areas for Students with Disabilities.
พระพุทธศาสนา.
2 3 บทที่ ตอนที่ การสืบค้นสารสนเทศ
Ecard.dep.go.th ศูนย์ข้อมูลคนพิการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
By Personal Information Management
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
Healthcare Risk management System: HRMS [ on cloud ]
“Online Article Service & Tracking System”
MR. PAPHAT AUPAKA ABOUT MY PROJECT Presentation by
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ชนัญชิดา ม่วงทอง | พงศกร ศิริคำน้อย มหาวิทยาลัยนเรศวร

ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร

ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ทำไมต้องมี ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร สถานที่จัดเก็บแตกต่างกัน รายละเอียด วารสารในระบบ ไม่ชัดเจน ชื่อวารสาร มีการเปลี่ยนแปลง ผู้ใช้/ผู้ให้บริการ หาไม่พบที่ชั้น

ปรับปรุง/จัดการตัวเล่มวารสารให้เป็นระบบ เพื่อพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่ง Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library วัตถุประสงค์ ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ปรับปรุง/จัดการตัวเล่มวารสารให้เป็นระบบ ลดข้อผิดพลาดในการจัดวางบนชั้น บุคลากรปฏิบัติงานสะดวกและมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เพื่อพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่ง ที่อยู่ของวารสาร เป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถค้นหาวารสารได้อย่างรวดเร็ว

งานเทคนิคตัวเล่มวารสาร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ขั้นตอนการดำเนินงาน งานเทคนิคตัวเล่มวารสาร สำรวจ รายชื่อวารสาร 1 กำหนดเลข Cutter / ติดสัน 2 3 จัดเรียงวารสาร บนชั้น รวบรวมสถานที่จัดเก็บวารสาร 4 จัดส่งรายชื่อและสถานที่จัดเก็บให้ทีมพัฒนาระบบ สรุปความต้องการระบบ ออกแบบ ฐานข้อมูล นำเข้ารายชื่อ เปิดใช้งาน ทดสอบระบบ ขั้นตอนพัฒนาระบบ

ภาพ การจัดวาง ก-ฮ และ นำมา จัดการ จัดระบบ Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ภาพ การจัดวาง ก-ฮ และ นำมา จัดการ จัดระบบ

Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library การให้เลขคัตเตอร์

Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library การ Generator Barcode

งานเทคนิค การทำ ตัวเล่ม วารสาร นิตยสาร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library งานเทคนิค การทำ ตัวเล่ม วารสาร นิตยสาร

จัดเรียง A-F 1 ตู้ มี 6 ล๊อก จาก บนลงล่าง 1 ล๊อก มี 5-6 ชั้น เรียงจาก Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library จัดเรียง A-F 1 ตู้ มี 6 ล๊อก จาก บนลงล่าง 1 ล๊อก มี 5-6 ชั้น เรียงจาก ซ้าย ไป ขวา

ภาพหลังทำงานเทคนิค และการจัดเรียงขึ้นชั้น Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ภาพหลังทำงานเทคนิค และการจัดเรียงขึ้นชั้น

3. ขั้นตอนการทำระบบค้นหาตำแหน่ง Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 3. ขั้นตอนการทำระบบค้นหาตำแหน่ง การพัฒนาระบบค้นหาตำแหน่งที่อยู่ของตัวเล่มวารสาร ซึ่งดำเนินการโดยนักคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการพัฒนาระบบตามขั้นตอน ดังนี้ Design ออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ และออกแบบฐานข้อมูล 3 Test ทดสอบระบบและนำข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไข 5 5 User เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ 2 System พัฒนาระบบ โดยภาษาที่ใช้ในการพัฒนา  ได้แก่ HTML, PHP, Javascript และ SQLใช้ Mysql Database และโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ โปรแกรม Notepad++ โปรแกรม MySQL-Font , Frontend Framework Bootstrap, JavaScript  Framework AngularJS 4 total วิเคราะห์และสรุปความต้องการของผู้ใช้งานระบบ 1

5. ประเมินการทำงานและประเมินผลจากผู้ใช้บริการ 4. เปิดให้บริการ Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. ประเมินการทำงานและประเมินผลจากผู้ใช้บริการ 4. เปิดให้บริการ VS

1 2 ผลการดำเนินงาน หลังจากได้พัฒนาระบบค้นหาที่อยู่ของตัวเล่มแล้ว Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library ผลการดำเนินงาน หลังจากได้พัฒนาระบบค้นหาที่อยู่ของตัวเล่มแล้ว ผู้ใช้บริการสามารถค้นตัวเล่มวารสารปรากฎตามภาพ ดังนี้ สืบค้นชื่อวารสารได้จาก WebOPAC   ที่ลิงก์ http://opac.nu.ac.th และระบบจะแสดงผล รายการบรรณานุกรมพร้อมแสดงลิงก์ คลิกหาที่อยู่ ของวารสารด้านล่าง 2 หน้าจอแสดงรายละเอียดทางบรรณานุกรมของ วารสาร พร้อมลิงก์ที่อยู่ของวารสาร เมื่อคลิกที่เมนู หาที่อยู่วารสาร ระบบจะแสดงรายการให้ค้นหา รายชื่อวารสารขึ้นมา

1 3 3. หน้าจอแสดงผล ระบบค้นหา และแหล่งที่อยู่ของ ตัวเล่มวารสาร Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 3 3. หน้าจอแสดงผล ระบบค้นหา และแหล่งที่อยู่ของ ตัวเล่มวารสาร

4. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ User ด้วยอุปกรณ์พกพา อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library http://www.lib.nu.ac.th/m/findjournal/

5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin การเพิ่มข้อมูลวารสารลงระบบ

5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5. หน้าจอแสดงระบบ ส่วนของ Admin การจัดเก็บสถิติการใช้วารสาร นิตยสาร การเรียกดูสถิติ รายงานโดยดึงข้อมูลได้ Export Excel

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5 4 3 2 1 Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึง ได้ทั้งจากคอมพิวเตอร์พีซี และอุปกรณ์พกพา อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต 4 ไม่เสียเวลาในการช่วยผู้ใช้บริการค้นหาตัวเล่ม 3 ทำให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานได้สะดวก เป็นอย่างมาก 2 ลดปัญหาร้องเรียนเรื่องการหาตัวเล่มวารสาร ไม่พบ 1 ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้อย่างมาก

การนำไปใช้ประโยชน์ นำวิธีการมาใช้กับหนังสือ 4. พึงพอใจในการ Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library การนำไปใช้ประโยชน์ นำวิธีการมาใช้กับหนังสือ 4. พึงพอใจในการ ใช้ระบบ 2. ประหยัดเวลา การค้นหาตัวเล่ม 3. แก้ปัญหา การจัดวาง การขึ้นชั้น

Searching Position System of Printed Journal in Naresuan University Library รายการอ้างอิง Cutter, Richard A. (1969). Cutter-Sanborn three figure author table. Englewood, Colo.: Distributed by Libraries Unlimited. หอสมุดแห่งชาติ. (2538). ตารางเลขผู้แต่งหนังสือภาษาไทยสำเร็จรูป. กรุงเทพฯ: หอสมุด.  

ขอขอบคุณ / ข้อคำถาม