มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
Advertisements

แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
บทที่ 7 คอมพิวเตอร์กับงานด้านการเงิน
โดย ผู้ช่วยเลขาธิการ คณะกรรมการ ป. ป. ช. ( นายอุทิศ บัวศรี )
โดย มณเฑียร ม่วงศรีศักดิ์. เขต สุจริต สพฐ. ใส สะอาด.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
สุจริตตามรอยพ่อ ขอทำดีเพื่อแผ่นดิน
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Office of The National Anti-Corruption Commission
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ
การประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ.
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
แนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน
การรายงานแผนและผลการปฏิบัติงานผ่านระบบสารสนเทศ CAD_CA
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุข (MoPH ITA) สู่การพัฒนาองค์กร.
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาออนไลน์ (Integrity and Transparency Assessment: ITA Online) ประจำปีงบประมาณ.
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
4.1.1 งานพัฒนาสถาบันเกษตรกร (ต่อ)
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
แนวทางการจัดทำรายงาน
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
ITA Integrity and Transparency Assessment
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
ลักษณะทั่วไปของคำในภาษาไทย
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
ธรรมาภิบาลในภาครัฐ โดย สุธรรม ส่งศิริ.
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
การจัดการระบบฐานข้อมูล
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
รายงานการประเมินตนเอง
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
โดย สมพิศ จันทรเมฆินทร์ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 7
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
(ร่าง) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment) (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ อันดับที่ 69 ของหน่วยราชการ.
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐที่เข้ารับการประเมิน เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน รวมถึงการจัดทำมาตรการในการป้องกันและปราบปราม การทุจริตทั้งในระดับนโยบายและในระดับปฏิบัติ

เครื่องมือและกรอบการประเมิน 3 เครื่องมือ 5 ดัชนี แบบสำรวจผู้มีส่วนได้เสียภายใน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT) 1. ความโปร่งใส 2. ความพร้อมรับผิด 3. ความปลอดจากการทุจริต ในการปฏิบัติงาน 4. วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร 5. คุณธรรมการทำงาน ในหน่วยงาน แบบสำรวจผู้มีส่วนได้เสียภายนอก External Integrity and Transparency Assessment (EIT) แบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ Evidence - based Integrity and Transparency Assessment (EBIT)

เกณฑ์การแปลผลคะแนนคุณธรรม และความโปร่งใสการดำเนินงาน แบ่งออกเป็นระดับ คือ 80 - 100 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งในการดำเนินงานสูงมาก 60 – 79.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งในการดำเนินงานสูง 40 – 59.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งในการดำเนินงานปานกลาง 20 – 39.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งในการดำเนินงานต่ำ 0 – 19.99 คะแนน มีระดับคุณธรรมและความโปร่งในการดำเนินงานต่ำมาก

ผลการประเมิน ITA ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดัชนี คะแนนดัชนี (ร้อยละ) ระดับผล การประเมิน 1. ความโปร่งใส 95.46 สูงมาก 2. ความพร้อมรับผิด 92.58 3. ความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน 95.34 4. วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร 89.80 5. คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน 74.24 สูง คะแนน ITA 90.19

หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลำดับ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คะแนน ITA 1 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 90.70 2 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 90.19 3 กรมการข้าว 88.16 4 กรมวิชาการเกษตร 87.97 5 สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 87.75 6 กรมประมง 87.16 7 กรมปศุสัตว์ 86.41 8 สำนักงานมาตรฐานสินค้าและอาหารแห่งชาติ 85.57 9 กรมชลประทาน 85.45 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 10 กรมส่งเสริมการเกษตร 84.39 11 กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 80.26 12 สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 80.14 13 กรมพัฒนาที่ดิน 79.72 14 กรมหม่อนไหม 74.67 การจัดลำดับผลคะแนนการประเมิน ITA กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ อยู่ในลำดับที่ 2 จากจำนวน 14 หน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การจัดลำดับผลคะแนนการประเมิน ITA ระดับประเทศ รายชื่อหน่วยงาน คะแนน 1 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 94.34 2 กรมบังคับคดี 92.75 3 สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 92.31 4 กรมบัญชีกลาง 90.83 5 กรมส่งเสริมสหกรณ์ 90.70 6 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 90.61 7 กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 90.19 8 กองทัพเรือ 89.97 9 สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 89.96 10 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 89.90 การจัดลำดับผลคะแนนการประเมิน ITA ระดับประเทศ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ อยู่ในลำดับที่ 7 จากจำนวน 146 หน่วยงาน

สถิติผลการประเมิน ITA ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2561 ดัชนี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 คะแนนดัชนี (ร้อยละ) ระดับผล การประเมิน 1. ความโปร่งใส 77.61 สูง 80.47 สูงมาก 91.06 95.46 2. ความพร้อมรับผิด 86.56 86.11 81.39 92.58 3. ความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน 96.22 95.97 87.22 95.34 4. วัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร 74.64 70.36 83.68 89.80 5. คุณธรรมการทำงานในหน่วยงาน 66.13 62.63 74.48 74.24 คะแนน ITA 80.77 80.06 84.31 90.19 การจัดอันดับ ผลคะแนน - อันดับที่ 71 จาก 148 หน่วยงาน อันดับที่ 58 จาก 147 หน่วยงาน อันดับที่ 7 จาก 146 หน่วยงาน

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน 1. ข้อเสนอแนะตามแบบสำรวจความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal) ดัชนีและตัวชี้วัดที่ควรพัฒนา ดังนี้ ดัชนี ตัวชี้วัด ประเด็นที่ควรพัฒนา ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรม ในองค์กร แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในหน่วยงาน การกำหนดโครงการหรือกิจกรรม เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมคุณธรรมในหน่วยงาน การตรวจสอบถ่วงดุลภายใน การตรวจสอบของหน่วยงานควรมีความเป็นอิสระ ไม่ถูกแทรกแซง ปราศจากอคติ มีความเป็นกลางและให้ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์

1. ข้อเสนอแนะตามแบบสำรวจความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal) (ต่อ) ดัชนี ตัวชี้วัด ประเด็นที่ควรพัฒนา ดัชนีคุณธรรม การทำงาน ในหน่วยงาน คุณธรรมในการบริหารงาน การซื้อขายตำแหน่งหรือใช้เส้นสาย ในการบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย เลื่อนระดับ เลื่อนตำแหน่งของผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ การพิจารณาความดีความชอบ คัดเลือกเจ้าหน้าที่เพื่อเข้ารับการฝึกอบรม/ศึกษาดูงาน/ทุนการศึกษา อย่างโปร่งใสและเป็นธรรม

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน 2. ข้อเสนอแนะตามแบบสำรวจความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (Internal) ดัชนีและตัวชี้วัดที่ควรพัฒนา ดังนี้ ดัชนี ตัวชี้วัด ประเด็นที่ควรพัฒนา ดัชนีความโปร่งใส การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของประชาชน/ผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน 3. ข้อเสนอแนะจากการประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence – Based) หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence – Based) ที่ควรได้รับการปรับปรุง คือ หัวข้อ ประเด็นที่ควรพัฒนา การกำหนดมาตรการกลไก หรือการวางระบบในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตามคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน ข้อมูลเกี่ยวกับระบบมาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี Cooperative Auditing Quality Control : CAQC แม้จะเป็นภารกิจที่สำคัญประการหนึ่งของหน่วยงาน แต่กระบวนการดังกล่าวสะท้อนให้เห็นการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เพียงภารกิจเดียวเท่านั้น ซึ่งยังขาดข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงการกำหนดมาตรการ กลไก หรือการวางระบบในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตามคู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานในภารกิจอื่นๆ ที่แสดงถึงภาพรวมของหน่วยงานที่ชัดเจน

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน 4. ความคิดเห็นเพิ่มเติมของกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal) โดยมีประเด็นที่ควรพัฒนาและปรับปรุง คือ หน่วยงานควรมีการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานภายในหน่วยงาน และควรมีการจัดอบรมสัมมนาในเรื่องคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ ความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External) โดยมีประเด็นที่ควรพัฒนาและปรับปรุง คือ หน่วยงานควรเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์และช่องทางการติดต่อของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปรับทราบข้อมูลข่าวสารมากยิ่งขึ้น พร้อมพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว