บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
ที่มา : ศ. ดร. ชาญ ณรงค์ พรรุ่งโรจน์. 6 จุดเริ่มต้น ของการประกัน คุณภาพ การประกันคุณภาพ เริ่มต้นที่ความ พยายามของ ผู้บริหาร ครู และ ผู้เข้ารับการอบรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐาน ISO ใครควรทำ ทำแล้วได้อะไร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
แนวทางการจัดวางระบบการ ควบคุมภายใน
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Strategic Line of Sight
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
มาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ. ศ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ

การตรวจสอบภายใน ความหมาย : กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษา อย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานขององค์กรให้ดีขึ้น การตรวจสอบภายในจะช่วยให้องค์กรบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกำกับดูแลอย่างเป็นระบบและเป็นระเบียบ (ที่มา อ้างอิงจาก : The Institute of Internal Auditor : IIA)

บทบาทการตรวจสอบภายใน ส่งเสริมให้งานประสบความสำเร็จหรือเพิ่มคุณค่าให้กับองค์กร - พัฒนาให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการและวัตถุประสงค์ของฝ่ายบริหาร เรียกว่า การตรวจสอบเพื่อการบริหาร - การตรวจสอบโดยใช้แนวความเสี่ยง - การตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม

บทบาทการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบในเชิงรุกแบบก้าวหน้าและสร้างสรรค์ การติดตามแนวการคิดทางการบริหารใหม่ การใช้เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์และไอทีสมัยใหม่

วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบภายใน เพื่อช่วยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรให้ทำงานในหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมให้มีการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม

ความสำคัญและประโยชน์ของการตรวจสอบภายใน ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการที่ดี ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การปฏิบัติงาน เป็นมาตรการถ่วงดุลอำนาจ ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า

ปัจจัยความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน  นโยบายและการสนับสนุนของฝ่ายบริหาร  ความเข้าใจและการยอมรับของผู้รับตรวจ  ความพร้อมของระบบงานและสารสนเทศ  ความรู้ ทักษะ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมนุษย์สัมพันธ์ในการปฏิบัติงาน

ลักษณะการให้บริการ บริการให้ความเชื่อมั่น(Assurance Services) บริการให้คำปรึกษา(Consulting Services)

บริการให้ความเชื่อมั่น หมายถึง การตรวจสอบหลักฐานต่าง ๆ อย่างเที่ยงธรรม เพื่อนำมาประเมินผลอย่างเป็นอิสระในกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแลกิจการที่ดีของส่วนราชการ

บริการให้คำปรึกษา หมายถึง กิจกรรมการให้คำแนะนำ และการให้บริการที่เกี่ยวข้องแก่ส่วนราชการ ลักษณะและขอบเขตของงานเป็นไปตามความตกลงร่วมกันกับส่วนราชการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มคุณค่า และปรับปรุงการปฏิบัติงาน - การให้คำปรึกษา คำแนะนำ การอำนวยความสะดวก การออกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน และการฝึกอบรม

ประเภทของบริการให้ความเชื่อมั่น การตรวจสอบการเงินและบัญชี ( FINANCIAL AUDITING ) การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกำหนด ( COMPLIANCE AUDITING ) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน ( PERFORMANCE AUDITING ) การตรวจสอบการบริหาร (MANAGEMENT AUDITING )

ประเภทของบริการให้ความเชื่อมั่น (ต่อ) ประเภทของบริการให้ความเชื่อมั่น (ต่อ) การตรวจสอบการดำเนินงานหรือการปฏิบัติงาน (OPERATION AUDITING ) การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ ( INFORMATION TECHNOLOGY AUDITING ) การตรวจสอบพิเศษ ( SPECIAL AUDITING)

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การบริหารความเสี่ยง : ความหมาย การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ ERM : Enterprise Risk Management การบริหารความเสี่ยงองค์กร กระบวนการที่ได้รับอิทธิพลจากคณะกรรมการ ผู้บริหารและบุคลากร ขององค์กร เพื่อช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ทั่วทั้งองค์กร ซึ่งได้รับการออกแบบไว้ให้สามารถบ่งชี้เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อองค์กร และเพื่อจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ รวมทั้งเพื่อให้ได้รับความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลในการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง 13

การบริหารความเสี่ยง : วัตถุประสงค์ ด้านยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ในภาพรวม (Strategic) ด้านการปฏิบัติงาน ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Operations) ด้านการรายงานการเงิน ความเชื่อถือได้ทั้งภายในและภายนอก (Reporting) ด้านการปฏิบัติตามข้อกำหนด กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ (Compliance)

การบริหารความเสี่ยง : องค์ประกอบ 1. สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective Setting) 3. การบ่งชี้เหตุการณ์ (Event Identification) 4. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 5. การตอบสนองความเสี่ยง (Risk Response) 6. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) 7. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information & Communication) 8. การติดตามและประเมินผล (Monitoring)

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การบริหารความเสี่ยง : สรุปองค์ประกอบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การบริหารความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายใน >>> ปรัชญาการบริหาความเสี่ยง ยุทธศาสตร์ >>> แผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติราชการ ระบุวัตถุประสงค์ >>> ระดับองค์กร ระดับกิจกรรม บ่งชี้เหตุการณ์ >>> ความเสี่ยงทั้งในและนอกองค์กร ประเมินความเสี่ยง >>> ประเมิน(โอกาส ผลกระทบ) จัดลำดับ นโยบาย/กระบวนการด้านทรัพยากรบุคคล ระดับการยอมรับและวัฒนธรรมความเสี่ยง คุณธรรม ตอบสนองความเสี่ยง >>> หลีกเลี่ยง กระจาย ลด/ควบคุม ยอมรับ กิจกรรมการควบคุม >>> นโยบาย มาตรการ วิธีการ สารสนเทศ/การสื่อสาร >>> จัดเก็บข้อมูลและสื่อสารทั่วองค์กร ติดตาม/ประเมินผล >>> ติดตามระหว่างการปฏิบัติงาน ประเมินตนเอง ประเมินอิสระ ปรัชญาการบริหารงาน โครงสร้างองค์กร การมอบหมายอำนาจหน้าที่ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การควบคุมภายใน : ความหมาย การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ ความหมาย ตาม COSO “Internal Control is a process, effected by an entity’s board of directors, management and other personnel, designed to provide reasonable assurance regarding the achievement of objectives in the following categories - Effectiveness and efficiency of operations - Reliability of financial reporting - compliance with applicable laws and regulations” “การควบคุมภายใน หมายความว่า กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยรับตรวจจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการทางการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและมติคณะรัฐมนตรี สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การควบคุมภายใน : วัตถุประสงค์และองค์ประกอบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ องค์ประกอบ ของการควบคุม วัตถุประสงค์ การควบคุม ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การดำเนินงาน ความเชื่อถือได้ ของรายงาน ทางการเงิน การปฏิบัติตาม ข้อกำหนด ข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร การประเมิน ความเสี่ยง กิจกรรม การควบคุม การติดตาม ประเมินผล สภาพแวดล้อมของการควบคุม สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การควบคุมภายใน : สรุปองค์ประกอบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงภาคราชการ การควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมของการควบคุม >>> ปรัชญา/ลักษณะการทำงานของผู้บริหาร โครงการ/งาน >>> กระบวนการปฏิบัติงาน ประเมินความเสี่ยง >>> กำหนดวัตถุประสงค์ ระบุปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม >>> นโยบาย มาตรการ วิธีการ ความรู้ ความสามารถ ทักษะของบุคลากร ความซื่อสัตย์/จริยธรรม โครงสร้างการจัดองค์กร สารสนเทศ/การสื่อสาร >>> จัดเก็บข้อมูลและสื่อสารทั่วองค์กร ติดตาม/ประเมินผล >>> ติดตามระหว่างการปฏิบัติงาน ประเมินตนเอง ประเมินอิสระ การมอบหมายอำนาจหน้าที่/ความรับผิดชอบ นโยบาย/การบริหารบุคลากร สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง

Q & A ขอบคุณและสวัสดี