พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
Advertisements

วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การออกแบบ Design.
บทที่ 3 จัดทำและนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การออกแบบและเทคโนโลยี
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Visual Communication for Advertising Week2-4
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การออกแบบและเทคโนโลยี
วาระที่ 3.1 ผลเบิกจ่ายงบลงทุน
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์ : แนวคิดและการบริหารจัดการของนักวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริมงคล นาฏยกุล ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts

Tangible arts = ถิรศิลป์ Irtangible arts = อถิรศิลป์

เราจะมองงานด้านศิลปะ ว่าเป็นการทำวิจัยได้อย่างไร? ศาสตร์แห่งศิลป์เป็น “โอสถทิพย์” ที่ช่วยบำรุงให้มนุษย์มีจิตใจที่อ่อนโยน เข้าใจตนเองและเพื่อนร่วมโลก และสร้างสรรค์ความเจริญทางปัญญา เราจะมองงานด้านศิลปะ ว่าเป็นการทำวิจัยได้อย่างไร?

การวิจัยเชิงสร้างสรรค์ หรือ creative research  เป็นศัพท์ใหม่ที่ใช้เรียกการค้นคว้าและการอธิบายทางวิชาการ ในการประกอบสร้างผลงานศิลปกรรม สาขาทัศนศิลป์และศิลปะการแสดง

กับงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ งานวิจัยด้านศิลปะจะมีขั้นตอนคล้าย ๆ กับงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ คือมีเป้าประสงค์ และต้องการผลลัพธ์ รวมถึงต้องใช้ กระบวนการประกอบสร้างในการอธิบายเหมือนกัน 

แบ่งตามลักษณะการวิจัย

แนวคิดการอธิบายงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ โดย ศาสตราจารย์ กิตติคุณ ดร.สุรพล วิรุฬห์รักษ์ ราชบัณฑิตสำนักศิลปกรรม ๑. การกำหนดแนวคิด คือ คิดและจินตนาการ จากการได้ยิน ได้ฟัง ได้เห็น แล้วนำมาปรับ มาเปลี่ยน มาปรุงใหม่ในแบบฉบับของเราเอง ๒. การออกแบบร่าง คือ การยกร่าง การเขียนรูปลงในกระดาษ ร่างแบบออกมาจนกว่าจะอธิบายได้ว่าแบบนี้เป็นแบบที่ดีที่สุด

๓. การพัฒนาแบบ คือ การขึ้นหุ่นจำลอง อาจทำโครงด้วยกระดาษหรือด้วยดินแล้วดูว่าร่างแบบจะเหมือนแบบที่สมองคิดไว้หรือไม่  ๔. การประกอบสร้าง คือ การทำเท่าของจริง ด้วยวัสดุใกล้เคียงของจริง เพื่อปรับแต่งรายละเอียดต่าง ๆ ซึ่งก็จะเห็นปัญหาประกอบสร้างที่เกิดขึ้นจริง ว่าสามารถจะใช้วิชาการอะไรไปแก้ปัญหานั้น ๆ ได้บ้าง เช่น ใช้วัสดุประเภทปูนไม่ได้ ใช้ความร้อนน้อยไป-มากไป ดินยุบตัว หรือในแง่ละครก็ดูว่าตัวละครไม่ได้คุณภาพ ผู้กำกับสื่อไม่ได้ หรือการให้แสง (lighting) ยังไม่ดีหรือไม่ เป็นต้น   

๕. การเก็บรายละเอียด ซักซ้อมศิลปะการแสดง หรือขัดตกแต่งเก็บรายละเอียดงานศิลปะเพื่อความสมบูรณ์เรียบร้อย ๖. การนำเสนอผลงาน การจัดแสดงจริง ซึ่งขั้นนี้ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้สร้างแล้ว แต่อยู่ที่การออกแบบ (design) ผลงานว่าจะทำให้คนเข้าใจหรือเสพผลงานนั้น ๆ ได้ตามที่ผู้สร้างต้องการสื่อได้หรือไม่ ต้องเตรียมเอกสารอธิบายความคิดหรือไม่ ต้องติดตั้งแสง-เสียงหรือไม่

๗. การประเมินผล เมื่อมีการนำเสนอผลงานแล้วควรให้เกิดการวิจารณืและประเมินผลงานโดยผู้เชียวชาญเพื่อเป็นการนำมุมมองและข้อเสนอแนะมาเป็นองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาต่อยอดความรู้ทางศิลปกรรมต่อไป

คุณลักษณะของนักวิจัย (แนวทางการค้นคว้าหาความจริงของพระพุทธเจ้า) ๑.คิดอย่างรอบคอบถี่ถ้วน ๒.คิดจากเหตุไปหาผล ๓.คิดจากผลไปหาเหตุ ๔.คิดแบบเห็น ความสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่

๕. คิดเน้นเฉพาะจุดที่ทำให้เกิด ๖ ๕.คิดเน้นเฉพาะจุดที่ทำให้เกิด ๖.คิดเห็นองค์ประกอบที่มาส่งเสริมให้เจริญ ๗.คิดเห็นองค์ประกอบที่มาทำให้เสื่อม ๘.คิดเห็นสิ่งที่มาตัดขาดให้ดับ

๙ คิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ ๑๐. คิดแบบมองเป็นองค์รวม ๑๑ ๙ คิดแบบแยกแยะองค์ประกอบ ๑๐.คิดแบบมองเป็นองค์รวม ๑๑.คิดแบบอะไรเป็นไปได้ หรือเป็นไปไม่ได้

แนวคิดการบริหารจัดการ ตนเองในการทำวิจัย ๑.บริหารจัดการเรื่องเวลา ๒.บริหารจัดการเรื่องชีวิตส่วนตัว ๓.บริหารจัดการเรื่องสุขภาพ ๔.บริหารจัดการเรื่องการเงิน ๕.บริหารจัดการเรื่องวิธีการค้นหาความรู้

๖. บริหารจัดการเรื่องจิตใจ ๗. บริหารจัดการเรื่องงานที่รับผิดชอบ ๘ ๖. บริหารจัดการเรื่องจิตใจ ๗.บริหารจัดการเรื่องงานที่รับผิดชอบ ๘.บริหารจัดการเรื่อง การแก้ไขปัญหาเฉพาะขณะหาข้อมูลวิจัย ๙.บริหารจัดการเรื่อง แนวทางการวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษา

“ศิลปะเป็นศาสตร์ที่มีวิทยาการ ถ้ารู้จักถอดวิทยาการออกมาได้เป็นรูปธรรม ด้วยทักษะการค้นหาความจริงอย่างมีขั้นตอน และวิเคราะห์เหตุปัจจัยด้วยปัญญานับเป็นกระบวนการวิจัย”