การกระจายของโรคในชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ 32203
Advertisements

องค์ประกอบของข่าว 1. ความรวดเร็ว (Immediacy)
Are you a student ? Yes, I am or No , I’m not .
ตอนนี้เรากำลังทำอะไรอยู่
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
Create Lists.
หลักสูตร VS การประเมินหลักสูตร
การเขียนโครงการ.
เทคนิคการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
หมายเหตุ ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย x ทับข้อ a.b,c ที่เห็นว่าถูกที่สุดเพียงข้อ เดียว.
อัตราความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยใน ไม่น้อยกว่า 80%
Orthopedic management of osteoporosis
การวางแผน Planning.
วิธีการคิดวิเคราะห์.
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
HOW TO WRITE INTRODUCTION Dr. AREE BUTSORN Ph.D. Public Health (INTERNATIONAL) Public Health Technical Officer KHUKHAN HEALTH OFFICE
บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การฝึกอบรมคืออะไร.
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
Lab 01 : พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
Human resources management
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
Burden of disease measurement
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
บทที่ 3 การวิเคราะห์ตลาดและคู่แข่งขัน
การทำงานเชิงวิเคราะห์
การปฏิบัติงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ
ทักษะการสืบค้นและการนำเสนอสาร
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
SERVICE MARKETING พฤติกรรมลูกค้าในตลาดบริการ • กระบวนการตัดสินใจซื้อสำหรับผลิตภัณฑ์บริการ • บทบาทของลูกค้าที่เกี่ยวข้องในการบริการ.
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
Community health nursing process
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรม (Social & Culture Change)
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
Review of the Literature)
คณะบริหารธุรกิจ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท bu.ac.th
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สำนักโรคไม่ติดต่อและสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
Educational Standards and Quality Assurance
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
พลตำรวจตรี สุรัตน์ อรุณฤกษ์ถวิล อาจารย์ (สบ
การมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพ
HDC แผนแพทย์ไทย.
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
การผลิตผลงานวิดิทัศน์
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
จารย์เวิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกระจายของโรคในชุมชน รายวิชา: ระบาดวิทยา (Epidemiology) รหัสวิชา: ๔๑๐๒๗๐๖ อ. กมลวรรณ บุตรประเสริฐ ๑

บทที่ ๔ การกระจายของโรคในชุมชน หัวข้อการบรรยาย  วัตถุประสงค์ของการศึกษาการกระจายของโรค  ประโยชน์การเรียนรู้การกระจายของโรค  วิธีวัดการกระจายของโรคในชุมชน  การกระจายของโรคตามลักษณะของบุคคล  การกระจายของโรคตามสถานที่  การกระจายของโรคตามเวลา ๒

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการศึกษาการกระจายโรคได้ถูกต้อง ๒. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายการกระจายของโรคตามลักษณะของบุคคล สถานที่ และเวลาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง ๓. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายประเภทของการวัดทางระบาดวิทยาได้ถูกต้อง ๓

การกระจายของโรคในชุมชน การศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของบุคคลสถานที่และเวลา ที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคในชุมชนว่าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (descriptive epidemiology) โดยศึกษาเกี่ยวกับอัตราอุบัติการณ์ของโรค (incidence rate) อัตราความชุกของโรค (prevalence rate) และอัตราตาย (mortality rate) ที่สัมพันธ์กับตัวแปรต่างๆของบุคคล สถานที่และเวลาทำให้ทราบถึงการกระจายของโรค ทำให้ทราบถึงการกระจายของโรคชุมชน ๔

วัตถุประสงค์ของการศึกษาการกระจายของโรค การศึกษาลักษณะการกระจายของโรค และแนวโน้มของโรคในชุมชน โดยศึกษาเกี่ยวกับอุบัติการณ์ของโรค (incidence) ความชุกของโรค (prevalence) และอัตราตาย (mortality rate) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรค ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างสมมติฐาน ๕

การศึกษาเชิงพรรณนาเป็นการศึกษาค้นคว้า เพื่อพยายามตอบคำถามต่อไปนี้ What : ปัญหานั้นคืออะไร How much : ปัญหานั้นเกิดมากหรือน้อยเพียงใด Who : ในเป็นกลุ่มที่มีปัญหานั้น เช่น กลุ่มอายุใด เพศ และฐานะ อย่างไร Where : ปัญหานั้นเกิดขึ้นที่ใด When : ปัญหานั้นเกิดขึ้นเมื่อใดมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา หรือไม่ อย่างไรหลังจากนั้นจึงจะใช้รูปแบบการศึกษาชนิด อื่นเพื่อการตอบคำถามต่อมา คือ Why : ปัญหานี้เกิดขึ้นเพราะเหตุใดหรือเหตุใดปัญหาจึงยังคงมีอยู่ How : จะมีมาตรการหรือดำเนินการอย่างไรต่อไปเพื่อการ แก้ปัญหานั้น ๖

ประโยชน์ของการศึกษาการกระจายของโรค ๑.  ได้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงในการเกิดและการกระจายของโรคในชุมชน หรือคาดคะเนแนวโน้มของการเกิดโรค  ๒.  ทราบถึงสถานภาพทางอนามัยของชุมชนนั้นตลอดจนปัญหาโรคภัยไข้เจ็บที่เกิดในชุมชนได้  ๓.  ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค จากการศึกษาทำให้ทราบสาเหตุของโรคต่าง ๆ หรือปัจจัยอันตราย ๔.  การค้นพบโรคในระยะเริ่มแรก ช่วยให้มีวิธีการตรวจแยกโรคในคนหมู่มาก ๗

ประโยชน์ของการศึกษาการกระจายของโรค ๕.  ใช้ในการควบคุมโรค จากระบบการเฝ้าระวังโรค ๖.  ใช้วางแผนงานด้านบริการการแพทย์และสาธารณสุข ๗.  ใช้จำแนกชนิดของโรคต่าง ๆ การเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของการเกิดโรคต่าง ๆ ๘.  ประเมินผลการรักษาพยาบาลและโครงการสาธารณสุขต่าง ๆ  ๘

วิธีวัดการกระจายของโรคในชุมชน การวัดขนาดของโรค (measure of magnitude or frequency) ได้แก่ การวัดความชุก (prevalence) ของโรคการวัดอุบัติการณ์ (incidence) ของโรค การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” (measure of association) มีหลายลักษณะตามรูปแบบของการศึกษาแต่ละชนิด การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค (measure of impact) ๙

การศึกษาการกระจายที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของบุคคล สถานที่ และเวลา บุคคล (person) อายุ (age) เพศ (sex) เชื้อชาติ (pace) อาชีพ (occupation) สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม (socioeconomic status) สภาวะการแต่งงาน (marital status) ๑๐

การศึกษาการกระจายที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของบุคคล สถานที่ และเวลา สถานที่ (place) ในประเทศหรือเขตที่มีอัตราการเกิดโรคสูง ประชากรที่อยู่ในประเทศนั้นเกือบทุกเชื้อชาติจะมีอัตราการเกิดโรคนั้นสูง ประชากรที่เคลื่อนย้ายจากประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคต่ำ ไปยังประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคสูงจะมีแบบลักษณะการเกิดโรคสูงคล้ายกับประเทศที่ย้ายไปอยู่ใหม่ ๑๑

การศึกษาการกระจายที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของบุคคล สถานที่ และเวลา เวลา (time) การเปลี่ยนแปลงระยะยาว (secular trends) การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ (cyclic fluctuations) การเปลี่ยนแปลงระยะสั้น (short-term fluctuations) ๑๒

สรุป การกระจายของโรคในชุมชนเป็นการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของบุคคลสถานที่และเวลา ที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคในชุมชน เพื่อศึกษาลักษณะการกระจายของโรค และแนวโน้มของโรคในชุมชน ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรค และศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการสร้างสมมติฐาน การวัดทางระบาดวิทยา แบ่งออกได้เป็น ๓ ประเภทประกอบด้วย ๑.การวัดขนาดของโรค ๒.การวัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ศึกษาและโรค ๓.การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค ๑๓

คำถามทบทวน ๑. ให้นักศึกษาอธิบายวัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการศึกษาการกระจายโรค ๒. ให้นักศึกษาอธิบายการกระจายของโรคตามลักษณะของบุคคล สถานที่ และเวลาที่เกิดขึ้น ๓. ให้นักศึกษาอธิบายประเภทของการวัดทางระบาดวิทยา ๔. ให้นักศึกษาอธิปรายร่วมกันเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สถานที่ และเวลา พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ๕. นักศึกษาสามารถนำความรู้เรื่องการกระจายของโรคไปประยุกต์ใช้ในชุมชนที่เคยมีการกระจายของโรคอย่างไรได้บ้าง ๑๔

เอกสารอ้างอิง ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร.(๒๕๕๒) ระบาดวิทยา พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เสาวลักษณ์ ลักษมีจรัลกุล. (๒๕๕๐). เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา PB ๓๐๕๓ เรื่องการกระจายของโรคในชุมชน. สมุทรปราการ:สาขาวิชาอาชีวอนามัย และความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (ไม่ได้ตีพิมพ์) ๑๕