กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทรัพยากรบุคคล: กุญแจสู่ความสำเร็จของธุรกิจ (Key Success Factor)
Advertisements

ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
เปิดประชุมเวลา น. รายชื่อผู้เข้าประชุม.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
ระเบียบ และ การเบิกจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร องค์ประกอบที่ 1 หลักสูตร “หลักสูตรผลิตครู 5 ปี ให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เป็นหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานวิชาชีพครู
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
งานฝึกอบรมและพัฒนาสื่อสารสนเทศ
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เสียงจาก ผู้ให้บริการ พ.ท.หญิง ญาติมา คุณวัฒน์
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๑ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
การจัดการองค์ความรู้
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft PowerPoint Part 2 ทพ491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
ปฏิบัติการที่ 5 การออกรายงาน
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
เข้าสู่วาระการประชุม
สิทธิมนุษยชน ขั้นพื้นฐาน.
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การทวนสอบและการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
วิชา วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สมุทรสงคราม -ว่าง- นายธีระชาติ ไทรทอง นางภาวดี ภูมรินทร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
รอบที่ ๑ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
PLC.
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
การอำนวยความเป็นธรรมทางอาญาของพนักงานฝ่ายปกครอง
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
พ.ศ.๒๕๕๘ พ.ศ.๒๕๕๙ สิงหาคม กันยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม
[ชื่อผู้นำเสนอ] [วันที่]
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
เทคนิคการจัดรายการ เพื่อเป็นนักจัดรายการที่มีคุณภาพ
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม 2 เทคนิคการบริหารหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ

สมาชิก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อ.ดร.ปริวรรต สมนึก ดร.จิตติมาภรณ์ สีหะวงษ์ อ.สิริพัฒน์ ลาภจิตร น.ส.พัณณิตา นันทกาล มหาวิทยาลัยนครพนม น.ส.พรจิตร จันทร์เปล่ง อ.ดร.วนิดา หงส์มณีรัตน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผศ. ดร.นุชรัตน์ มัลคละคีรี อ.รตนดา อาจวิชัย น.ส.ทิพวรรณ จันทสิทธิ์ อ.สุวิชชาน อุ่นอุดม มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง อ.ดร.แดนวิชัย สายรักษา อ.ณิภารัตน์ บุญกุล อ.สุชาลักษม์ ธรรมดวงศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร น.ส.โชติกา เขียนนิล อ.ฤทธิรงค์ เกาฏีระ น.ส.ฝอยทอง สาครวรรณศักดิ์ อ.ตรรกพร สุขเกษม น.ส.อภิญญา จูเลิศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ผศ.ดร.พรรณลดา ติษตะบุตร อ.ว่าที่ร้อยโท ณัฐดนัย แก้วโพนงาม นางสาวอิสริยา ปิ่นตบแต่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นางสาวภฤศมน วิสัยดี อ.ชุดาภัค เดชพันธ์

1. การรับนักศึกษา เป้าหมาย - เกณฑ์คุรุสภา อาจารย์:นักศึกษา ดูเกณฑ์ด้านคุณภาพ ปั้นดินให้ เป็นดาว ประชาสัมพันธ์ดูกลุ่มเป้าหมาย นอกจากโรงเรียน คือ กศน. กำหนดระยะเวลาในการออกประชาสัมพันธ์ให้เร็วขึ้น สมัครและสำรวจสาขาที่นักเรียนต้องการเรียน ประชาสัมพันธ์ผ่านเครือข่ายทีวี เช่น นำเสนอวิธีการรับน้อง ความเป็นอยู่ในมหาวิทยาลัย ฝึกอบรมอาจารย์ประจำหลักสูตรให้มีบุคลิกภาพที่ดี เช่น ด้าน การฟัง การให้ทุน ฝึกอบรมรุ่นพี่ การเป็นต้นแบบ การสาธิตเนื้อหาสั้นๆ เน้นเป้าหมายโรงเรียนขนาดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ให้เป็นรูปธรรม นำประเด็นมาโปรโมทให้เป็น รูปธรรม ชี้ให้เห็นแนวทางการประกอบอาชีพชัดเจน

1. การรับนักศึกษา (ต่อ) โทรหานักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่พลาดหวังการเข้า มหาวิทยาลัย รุ่นพี่ชี้ทางสร้างเครือข่าย แล้วให้อาจารย์ให้ข้อมูล ทำ MOU กับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ออกประชาสัมพันธ์สร้างข้อมูลให้ตรงเวลา เด็กแนะนำได้ 10 คนจะได้ 1 ทุน การ Open House จัดรวมทั้งมหาวิทยาลัย ประกวด นวัตกรรม จัดกิจกรรมและเล่นเกม การมอบปริญญาบัตรแก่บุคคลสำคัญ เช่น เจ้าแขวง และถ่ายทอดทีวี สร้างเครือข่ายครูแนะแนว บัณฑิตที่ประสบความสำเร็จ

1. การรับนักศึกษา (ต่อ) ประชาสัมพันธ์ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย โดยวางแผน 1 เดือน ก่อนเปิดรับ บริการวิชาการ เช่น การเผยแพร่ข้อมูลการอบรม ประชาสัมพันธ์หลักสูตรแข่งขันทักษะประสบการณ์มาแข่งขัน เพื่อสร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัย ใช้กลุ่มเครือข่ายพื้นที่ เช่น เทศบาล สนง.เขตพื้นที่ ม.เทคนิค กิจกรรมการมีส่วนร่วม เครือข่าย กลุ่มโรงเรียน ประชาสัมพันธ์โดยฝ่ายกิจการนักศึกษาลงไปยังโรงเรียนต่างๆ ส่วนสาขาวิชาอาจบูรณาการกับการเรียนการสอน ให้ทุนเรียนดีและกีฬาในจังหวัดโควตาเครือข่ายครูแนะแนว ศึกษาดูงาน แอดมิดชั่นเข้าสู่ระบบกลาง ONET

1. การรับนักศึกษา (ต่อ) ประชาสัมพันธ์ระบบรุ่นพี่โรงเรียน นักศึกษาคุยกับ นักเรียน บริการวิชาการให้โรงเรียน “ห้องสมุดเพื่อน้อง” จัด Road Show Open House โบร์ชัวร์ เว็บไซต์ ทำ MOU ข้อคิดเห็น วิธีการดังกล่าวทำให้เพิ่มจำนวนนักศึกษาได้มากเพียงใด ให้มีหน่วยงานวิเคราะห์สถิติการรับนักศึกษา ทำวิจัยสถาบันการรับนักศึกษาเป็นข้อมูลสนับสนุน

2. การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษา AEC ทุนศึกษาดูงานต่างประเทศ เสนอบทความวิจัย ทุนพัฒนานักศึกษาด้านภาษาต่างประเทศ สหกิจศึกษาในต่างประเทศ ได้ทุนจากหน่วยงาน เน้นเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ เป็น License การประกอบ วิชาชีพ สภาวิศวกร สถานประกอบการ ภาษาอังกฤษ เน้นให้สอบผ่าน TOEIC การอบรม จ้าง อาจารย์ภายนอก หรืออาจารย์ภาษาต่างประเทศ

2. การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา (ต่อ) เชื่อมโยงหน่วยงานภายนอกเพื่ออาศัยเครื่องมือและ องค์ความรู้ เพิ่มทักษะชีวิต เช่น การชงกาแฟ การแต่งหน้า พัฒนาบุคลิกภาพ รายวิชาของคณะไปใส่ไว้ในชั้นปีที่ 1 นักศึกษาจะมี โอกาสได้เจออาจารย์มากขึ้น ทำให้เข้าใจหลักสูตร พี่รหัส เพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร เช่น Line การทำงานวิจัย เน้นวิจัยเดี่ยว นำทักษะมาใช้ได้ เต็มที่ เพิ่มวิชาวิจัย พัฒนาทักษะ ดูงานในสถานประกอบการ

3. การบริหารและพัฒนาอาจารย์ สำรวจความสนใจของอาจารย์แล้วจัด KM ให้ทุนในการสอบและติวสอบ TOEIC 400 คะแนน สำหรับ อ.ต่อสัญญา 550 คะแนนสำหรับ อ.ใหม่ กองทุนจากคณะและมหาวิทยาลัยสนับสนุนให้ อาจารย์มีผลงานทางวิชาการเพื่อขอตำแหน่งทาง วิชาการ ให้ทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทั้งในและ ต่างประเทศ จัดสรรงบประมาณพัฒนาตนเอง กำหนดภาระงาน/อำนาจหน้าที่ของอาจารย์ประจำ หลักสูตร

3. การบริหารและพัฒนาอาจารย์ (ต่อ) ทำแผนพัฒนาอาจารย์รายบุคคล เพิ่มกฎเกณฑ์สร้างแรงจูงใจ แรงกดดัน ตั้งเป้าหมาย ให้เข้าใจหน้าที่ของอาจารย์ประจำหลักสูตร สร้างแรงจูงใจมีงบสนับสนุน TQF สร้างภาระงาน หาทุนสนับสนุน

4. สาระของรายวิชาในหลักสูตร ดูความต้องการของสถานประกอบการ output อื่น ของรายวิชา ทวนสอบกรรมการภายในและภายนอกทุกเทอม ให้บัณฑิตศึกษาที่กำลังเรียนปีสุดท้ายสะท้อนว่าควร จะปรับปรุงอะไรบ้าง ปรับปรุงหลักสูตรดูตามวงรอบและแนวโน้มความ ต้องการตลาดและออกแบบรายวิชาในหลักสูตร ทำให้ปรากฏใน มคอ.1

4. สาระของรายวิชาในหลักสูตร (ต่อ) นำผลประเมิน มคอ.5 มาพิจารณาปรับปรุง การฝึกอบรมอาจารย์ก่อนปรับปรุงหลักสูตร ให้ ตรงกับผลการเรียนรู้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียวิพากษ์หลักสูตร หลักสูตรทันสมัย มีความเป็นสากล

5. การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เลือกอาจารย์ผู้สอนให้ตรงตามสาขาวิชา เน้นความเชี่ยวชาญให้ตรงตามรายวิชา มีอาจารย์พิเศษตามรายวิชาและมีความเชี่ยวชาญตาม รายวิชา แชร์ประสบการณ์ นำนักศึกษาลงพื้นที่จริง Active Learning PCL Hands On

5. การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน (ต่อ) เป้าหมาย : ใช้อาจารย์ให้ตรงกับคุณวุฒิ ถามความต้องการ กำหนดผู้สอน คุยรูปแบบการสอน ของรายวิชา วางแผนการสอน

6. การประเมินผู้เรียน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ประเมินผู้เรียนตามกรอบ TQF ใช้เครื่องมือประเมินหลากหลาย เช่น ภาษาอังกฤษ ทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ อภิปราย ประเมินตามสภาพความเป็นจริง Port Folio แฟ้มสะสม งาน เน้น OBE ประเมินผู้เรียน ทวนสอบก่อนจบ วิพากษ์ผลการเรียนร่วมกัน (อาจารย์กับนักศึกษา) Exit Exam ให้นักศึกษาทำวิจัยประเมินการสอน การสอบ

7. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มีแหล่งเรียนรู้ มีห้องสมุดมหาวิทยาลัย ห้องสมุดสาขาวิชา สารสนเทศ ใช้ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก ภาครัฐ ภาคเอกชน กำหนดแผนของบประมาณสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัย ระบบควบคุมการใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทำ check list กับห้องสมุด (มคอ.) ตรวจสอบสื่อว่าใช้ได้จริง นักศึกษาตรวจสอบสื่อเอง

สายสนับสนุน 1. ช่วยวางแผนประชาสัมพันธ์หลักสูตร (ประชาสัมพันธ์เชิงรุก) ศึกษาเรื่องการสื่อสารเชิงการตลาด ประชาสัมพันธ์หลักสูตร มีทุน มีคุณภาพ 2. ใช้ระบบตรวจเช็คความซ้ำซ้อนของอาจารย์ link กับฐานข้อมูล งานวิจัย เขียนโปรแกรมช่วยตรวจสอบ โปรแกรม มคอ. Online 3. การเก็บแบบสอบถามการวิเคราะห์ ประสานงานกับผู้ใช้ ประสานงานกับบัณฑิตที่จบไป 4. แบ่งงานอาจารย์ประจำหลักสูตรเป็น 5 ส่วน 5. ทำหนังสือของฝ่ายสนับสนุนมาช่วย

ขอบคุณ ค่ะ