Database ฐานข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปัญหาของระบบแฟ้มข้อมูล ( File System)
Advertisements

บทที่ 2 ระบบฐานข้อมูล Database System BC424 Information Technology.
File System Example of File System Employee Department
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน 2/50 รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การศึกษาเปรียบเทียบระบบการแจ้งซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาปี 2553 A Comparative.
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล (ต่อ)
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
โปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
แนะนำภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูล
Charter 8 1 Chapter 8 การจัดการฐานข้อมูล Database Management.
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ
D-COUNTER People Counter DOLLY SOLUTIONS Co., LTD.
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
NEW MEDIA. สื่อใหม่ คือ สื่อเก่าที่เปลี่ยนรูปลักษณ์ ภายนอก คุณเชื่อความคิดนี้หรือไม่
โปรแกรมฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมหรือซอฟแวร์ที่ช่วยจัดการ ข้อมูลหรือรายการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการจัดเก็บ การ เรียกใช้ การปรับปรุงข้อมูล โปรแกรมฐานข้อมูลจะช่วยให้ผู้ใช้สามารถ.
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
ระบบจัดการไร่อ้อย Sugarcane Farm Management System จัดทำโดย นายที่รัก ช่วยจันทร์ รหัส นายสถาพร นิลทับ รหัส นายชนาธิป อักกุลดี
โปรแกรมนี้ เป็นโปรแกรมที่ โปรแกรมจัดเก็บ เอกสารให้ง่ายต่อการค้นหานำกลับมาใช้แก้ไข ครับ สำหรับใครที่มีเอกสารเยอะๆ และเวลาจะ นำมาใช้ทีนึงแล้วรู้สึกอยากต่อการเข้าถึง.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศในหน่วยธุรกิจ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wireless Network เครือข่ายไร้สาย
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
WAC FIN’ LOCK WFS21M Fingerprint Access Control
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น
บทที่ 4 อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลและองค์ประกอบข้อมูล
โครงการแผนการจ่ายเงินการรับเงิน และนำเงินส่งคลังของ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ e-Payment.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
Introduction to Data mining
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
การจัดการระบบฐานข้อมูล
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม ThaiLIS Digital Collection (TDC)
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
รหัสแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์
[ บทที่ 1 ] ระบบฐานข้อมูล
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
제 10장 데이터베이스.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Database ฐานข้อมูล

ข้อมูล (Data) ข้อเท็จจริงหรือข้อบ่งชี้ของบุคคลหรือสถานที่ สิ่งของต่าง ๆ และเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไป *ข้อมูลอยู่ในรูปตัวเลข อักขระ และสัญลักษณ์ต่าง ๆ รวมถึง สัญญาณเสียง เสียงเพลง ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล วิดีโอต่างๆ ปัจจุบันข้อมูลถูกบันทึกในลักษณะดิจิตอลที่ใช้เลขฐานสอง 8 บิตแทนอักขระ เช่น 01000001 แทนอักขระ A เป็นต้น

ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง มวลสารสนเทศที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน เก็บไว้อย่างเป็นระบบในสื่อที่ค้นหาและอ่านด้วยคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูลใช้สำหรับเป็นที่เก็บไฟล์หลาย ๆ ไฟล์ที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น ฐานข้อมูลการบริหารงานบุคคลประกอบด้วย ไฟล์เงินเดือน ไฟล์สวัสดิการ และไฟล์ภาษีเงินได้ เป็นต้น

ไฟล์ (File) ที่จัดเก็บบันทึกข้อมูลหลาย ๆ บันทึก เช่น ไฟล์เงินเดือนประกอบด้วยข้อมูลพนักงาน เงินเดือนของพนักงานและอัตราการจ่ายภาษีของพนักงาน

ตัวอย่างฐานข้อมูลการเรียนการสอน

ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Computer Database) คือ สารสนเทศที่อยู่ในรูปดิจิตอล (digital) ซึ่งเป็นสัญญาณไฟฟ้าในระบบคอมพิวเตอร์ มีการจัดเก็บในระบบฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่เหมาะสม (Database Management System: DBMS)

ระบบฐานข้อมูล (Database) ระบบฐานข้อมูลสามารถใช้งานได้ทั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว (Stand Alone) เช่น ระบบฐานข้อมูลสื่ออุปกรณ์สำหรับองค์กรขนาดเล็กที่ต้องการจัดเก็บฐานข้อมูลสื่ออุปกรณ์ไว้เฉพาะในคอมพิวเตอร์ที่พนักงานฝ่ายสื่อใช้เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น หรือใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวแบบแม่ข่าย (Server) ผ่านระบบ LAN หรืออินเทอร์เน็ต ขึ้นอยู่กับลักษณะของงานที่ต้องการ เช่น การใช้ฐานข้อมูลบนเว็บสำหรับเก็บข้อมูลนักเรียนนักศึกษา ข้อมูลการสั่งซื้อ ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียน หรือข้อมูลอื่น ๆ ที่ยินยอมให้ผู้ใช้เรียกดูข้อมูลได้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ความสำคัญของการใช้ฐานข้อมูล รักษาความคงสภาพของข้อมูล ใช้ข้อมูลร่วมกัน ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล ลดเวลาพัฒนาระบบงาน ลดความขัดแย้งของข้อมูล ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล บางหน่วยงานอาจมีการเก็บข้อมูลแยกหลายที่ อาจมีบางส่วนที่ซ้ำซ้อนกันได้ เช่น ฝ่ายทะเบียนกับฝ่ายวิชาการอาจมีข้อมูลชุดเดียวกัน ซึ่งหากต่างฝ่ายต่างเก็บก็ทำให้เปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บโดยเปล่าประโยชน์ และเมื่อใดที่มีการเปลี่ยนแปลงทำให้ต้องตามไปเปลี่ยนแปลงในทุกฝ่ายเพื่อให้ข้อมูลที่มีอยู่ไม่ขัดแย้งกัน

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ลดความขัดแย้งของข้อมูล ข้อมูลชุดเดียวกันแต่มีค่าแตกต่างกัน เนื่องจากความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่เมื่อฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล แต่ฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ได้ทำการเปลี่ยนแปลง เมื่อนำข้อมูลไปใช้ก็ทำให้เกิดความขัดแย้งกันว่าข้อมูลใดถูกข้อมูลใดผิด และอาจทำความเสียหายให้แก่องค์กรได้หากนำข้อมูลที่ผิดไปใช้

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล รักษาความคงสภาพของข้อมูล คือ ความถูกต้อง ความสอดคล้อง ความสมเหตุสมผลของข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลนั้น การนำข้อมูลไปใช้จะช่วยให้สามารถควบคุมความคงสภาพนี้ได้ง่าย เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรประชาชน ต้องมีรูปแบบเป็นตัวเลข 13 หลักเท่านั้นจะใส่ข้อมูลตัวอักษรเข้าไปไม่ได้ รวมถึงการกำหนดชนิดของข้อมูล ขนาดความยาวของข้อมูล เพื่อไม่ให้ข้อมูลส่วนที่แตกต่างเข้ามาในระบบได้ ทำให้ข้อมูลที่บันทึกมีความถูกต้องเสมอ

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล การใช้ข้อมูลร่วมกันได้ การจัดเก็บข้อมูลไว้ที่เดียวกันทำให้แต่ละฝ่ายในองค์กรสามารถเรียกใช้ข้อมูลระหว่างกันได้โดยง่าย เช่น ฝ่ายทะเบียนเก็บข้อมูลรายชื่อนักศึกษาและอาจารย์ไว้ ฝ่ายประเมินผลสามารถรายชื่อนักศึกษามาใช้ในการจัดทำระบบประเมินออนไลน์ได้

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ง่ายต่อการเข้าถึงข้อมูล ฐานข้อมูลช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เนื่องจากมีกลไกในการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นแบบเดียวกัน มีคำสั่งให้เรียกค้นคืนข้อมูลได้ตามที่ต้องการ นอกจากนั้นยังเป็นระบบที่ง่ายต่อผู้ใช้ที่ต้องทำงานจัดการกับข้อมูล เช่น การค้น แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่ม ลบ รายการข้อมูล สามารถทำได้โดยง่าย

ความสำคัญของระบบฐานข้อมูล ลดระยะเวลาการพัฒนาระบบงาน การใช้ฐานข้อมูลทำให้ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ลดความขัดแย้งของข้อมูล และรักษาความคงสภาพของข้อมูลได้นั้นทำไม่ต้องพัฒนาระบบงานใหม่ เนื่องจากไม่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบข้อมูล ส่งผลให้ประหยัดเวลาได้มากยิ่งขึ้น