การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแนะนำระบบการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษา สถาบันพระบรมราชชนก
Advertisements

ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ (Teaching Behavior in Mathematics)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
แผนงาน / กิจกรรมตามนโยบายการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การประเมินการอ่านออกเขียนได้ ชั้น ป.1 ปีการศึกษา 2559
เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(Reading Test: RT) การประเมินความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การบริหารการทดสอบ O-NET
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
(National Test: NT) การทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (National Test: NT) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

การวัดและประเมินผลทางการศึกษา ปีการศึกษา 2559 งบประมาณแบบบูรณาการ นักเรียนทุกสังกัด สอบการอ่านออก เขียนได้ ป. 1-4 ข้อสอบกลาง ป. 2, 4-5, ม.1-2 การทดสอบ NT ป. 3

ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถด้านการคิดคำนวณ (Numeracy) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability)

ความรู้ (knowledge: K) ทักษะกระบวนการ (process skill: P) คุณลักษณะ (Attribute: A)

3Rs ผลการเรียนรู้ด้านสาระวิชาหลัก (Core Subjects) Reading (การอ่าน), ภาษาอังกฤษ การอ่านหรือศิลปะการใช้ภาษา ภาษาสากลต่างๆ ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การปกครองและสิทธิหน้าที่พลเมือง 3Rs สมรรถนะพื้นฐาน Reading (การอ่าน), Writing (การเขียน) Arithmetic (คณิตศาสตร์) ผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (Student Outcomes)

ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ความสามารถพื้นฐาน Literacy, Numeracy, Reasoning ability พัฒนา คุณภาพตามมาตรฐานและตัวชี้วัด 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ O-NET NT

ความสำคัญของการทดสอบความสามารถพื้นฐาน (NT) ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ความสามารถพื้นฐาน Literacy, Numeracy, Reasoning ability NT Fun Find Focus

ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญ ประเมินสิ่งที่อ่านจากสื่อประเภทต่างๆ รู้จักเลือกอ่านตามวัตถุประสงค์ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันและการอยู่ร่วมกันในสังคม ใช้การอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต และสื่อสารเป็นภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างสร้างสรรค์ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

ด้านภาษา (Literacy) 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 4. บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง-ดู/อ่านอย่างง่ายๆ 5. คาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน 6. สื่อสารความรู้ ความเข้าใจ ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่านอย่างเหมาะสม ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านภาษา (Literacy) ชั้น ป.3

ความสามารถการคิดคำนวณ (Numuracy) ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคำนวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

ด้านคิดคำนวณ (Numeracy) ความคิดรวบยอดด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ความคิดรวบยอดด้านจำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดด้านการวัด ความคิดรวบยอดด้านพีชคณิต ความคิดรวบยอดด้านเรขาคณิต ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ + ทักษะการคิดคำนวณ ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถคำนวณ (Numeracy) ชั้น ป.3

ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning Ability) ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดำเนินชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูลสถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2556)

ด้านเหตุผล(Reasoning Ability) มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล สามารถสร้างข้อสรุปใหม่ ออกแบบ วางแผน บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ให้ข้อสนับสนุน/โต้แย้งเพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีหลักการและเหตุผล คำนึงถึงคุณธรรมและจริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อในกรณีที่มีสถานการณ์ที่ต้องการตัดสินใจ/มีปัญหา ตัวชี้วัดในการประเมินความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ชั้น ป.3

การวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างตัวชี้วัด LNR กับมาตรฐาน/ตัวชี้วัดของหลักสูตร กลุ่มสาระ การเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เชื่อมโยง

ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. บอกความหมายของคำและประโยคจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน มฐ. ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน 2. บอกความหมายของเครื่องหมาย/สัญลักษณ์ มฐ. ท.1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน 3. ตอบคำถามจากเรื่องที่ฟัง-ดู/อ่าน มฐ. 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ความสามารถด้านคิดคำนวณ (Numeracy) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิด คำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทาง ปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์เรื่อง จำนวนและการดำเนินการตามขอบข่ายสิ่งเร้า มฐ. ค 1.2เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการของจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดำเนินการในการแก้ปัญหา 2. ใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หรือทักษะการคิด คำนวณเพื่อตัดสินใจเลือกแนวทาง ปฏิบัติหรือหาคำตอบจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันเกี่ยวกับความคิดรวบยอดทาง คณิตศาสตร์เรื่อง การวัดตามขอบข่ายสิ่งเร้า มฐ. ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มฐ. ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) ตัวชี้วัด มาตรฐาน/ตัวชี้วัด 1. มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลสารสนเทศด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมเศรษฐกิจ และการดำเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล มฐ. ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. วิเคราะห์ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศ โดยใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และด้านการดําเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล มฐ. ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มฐ. ว 2.2 เข้าใจความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลกนำความรู้ไปใช้ในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

กลุ่มเป้าหมายในการทดสอบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2559 ทุกสังกัดทั่วประเทศ

วันพุธที่ 8 มีนาคม 2560 วันสอบ วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560 ประกาศผล

การตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT 1. ข้อมูลนักเรียนชั้น ป.3 จากฐานข้อมูลของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นหลัก โดย 1.1 สถานศึกษาสามารถเพิ่มข้อมูลนักเรียนในสถานศึกษาของตนเอง 1.2 หน่วยงานต้นสังกัดสามารถเพิ่มชื่อสถานศึกษาในสังกัดของตนเอง 2. ตรวจสอบข้อมูลนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. สถานศึกษาจะทำการตรวจสอบข้อมูลนักเรียนในช่วงเดือน มกราคม 2560 โปรแกรมจะมีเมนูบอกสถานะเกี่ยวกับการตรวจสอบข้อมูลของโรงเรียน เช่น  รายชื่อโรงเรียนที่ยังไม่มีข้อมูลนักเรียน  รายชื่อโรงเรียนที่มีข้อมูลแต่ยังไม่ได้ตรวจสอบ  รายชื่อโรงเรียนที่มีข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลแล้ว

กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ การตรวจสอบข้อมูลนักเรียนที่เข้าสอบ NT (ต่อ) กรณี เด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ หลักฐานที่ใช้แนบ คือ 1) แบบคัดกรองเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ พร้อมแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) (ถ่ายเฉพาะหน้าแรกกับหน้าสุดท้าย) หรือ 2) ใบรับรองแพทย์

การบริหารจัดการศูนย์สอบ สพป. อปท. กทม. พัทยา สช. (ส่วนกลาง) ร.ร. สพป. ร.ร. สพม. ร.ร. เอกชน ร.ร. ตชด. ร.ร. สาธิตมหาวิทยาลัย ร.ร.ราชประชานุเคราะห์ ร.ร. การศึกษาพิเศษ ร.ร. อบต. ร.ร. เทศบาล ร.ร. อบจ ร.ร. กทม. ร.ร. เมืองพัทยา ร.ร.เอกชน ในกรุงเทพมหานคร หมายเหตุ โรงเรียนในศูนย์สอบเดิมถ้าย้ายศูนย์สอบใหม่ จะต้องแจ้งให้ศูนย์สอบเดิมสังกัดทราบด้วย

การบริหารจัดการสนามสอบ (โรงเรียนหลักในกลุ่มโรงเรียน) ศูนย์สอบ (สพป.) สนามสอบ สนามสอบ สนามสอบ (โรงเรียนหลักในกลุ่มโรงเรียน) สนามสอบ สนามสอบ โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน โรงเรียน หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้

การบริหารจัดการสนามสอบ กลุ่มส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด (ศูนย์สอบ) โรงเรียน สนามสอบ เทศบาล อบจ. อบต. หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้

การบริหารจัดการสนามสอบ สำนักงานยุทธศาสตร์การศึกษา กทม. สนามสอบ (โรงเรียน) สำนักงานเขต หมายเหตุ ศูนย์สอบสามารถกำหนดให้สถานศึกษาที่นักเรียนเป็นจำนวนมากหรือขนย้ายนักเรียนลำบากเป็นสนามสอบได้

การบริหารจัดการสอบ วันสอบ วันที่ 8 มีนาคม 2560 เวลา 9.00 – 14.00 น. 2. แต่งตั้งคณะกรรมการคุมสอบจากต่างโรงเรียน 3. ศูนย์สอบจะเป็นหน่วยงานหลัก ในการประสานความร่วมมือกับ สพฐ. และหน่วยงานภายในสังกัดในพื้นที่จังหวัดของตนเอง 4. สพฐ.จะเป็นผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตข้อสอบและกระดาษคำตอบ ให้แก่นักเรียนทุกสังกัด (รวมการจัดส่งด้วย)

การตรวจข้อสอบอัตนัย รูปแบบการตรวจข้อสอบอัตนัยมี 2 รูปแบบ ให้คณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบเป็นผู้พิจารณาเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับสภาพบริบทของศูนย์สอบและสนามสอบของตนเอง ดังนี้ รูปแบบที่ 1 ตรวจข้อสอบที่สนามสอบ (ตรวจในวันที่ 8 มีนาคม 60) โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ 2 คนต่อหนึ่งฉบับ (ต้องเป็นคนละคนกับผู้คุมสอบ) โดยจำนวนผู้ตรวจข้อสอบในแต่ละสนามสอบให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ รูปแบบที่ 2 ตรวจข้อสอบในสถานที่ที่ศูนย์สอบกำหนด (ตรวจในวันที่ 8 – 9 มีนาคม 60) โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ 2 คนต่อหนึ่งฉบับ โดยจำนวนผู้ตรวจข้อสอบให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการอำนวยการระดับศูนย์สอบ

การรับส่งข้อสอบและเฉลย 1. การส่งข้อสอบจะส่งข้อสอบไปยังศูนย์สอบวันที่ 1 – 4 มีนาคม 2560 2. สนามสอบมารับข้อสอบที่ศูนย์สอบเช้าวันที่ 8 มีนาคม 2560 3. การส่งเฉลยจะส่งผ่านทางระบบ NT Access (จะส่งรหัสเปิดไฟล์เฉลยไป ยังศูนย์สอบของวันที่ 8 มีนาคม 2560 หลังการสอบเสร็จในแต่ละวิชา) 4. การรับ-ส่งข้อสอบและกระดาษคำตอบ สพฐ.จะจัดจ้างบริษัทจัดส่ง ข้อสอบไปยังศูนย์สอบทุกแห่งทั่วประเทศ พร้อมทั้งรับกระดาษคำตอบ กลับมายัง สพฐ. รับกระดาษคำตอบกลับระหว่างวันที่ 10 – 15 มี.ค. 60 5. แบบทดสอบ(โจทย์คำถาม)ทั้งหมด เมื่อสอบเสร็จแล้วให้ไว้ที่สถานศึกษาที่เป็นสนามสอบ เพื่อเผยแพร่(แจกจ่าย)ให้แก่สถานศึกษาที่เข้าสอบในสนามสอบ

การรับส่งข้อสอบและเฉลย (ต่อ) 6. กระดาษคำตอบข้อสอบแบบเขียนตอบเมื่อกรอกคะแนนเสร็จแล้ว ให้เก็บรักษาไว้ที่ศูนย์สอบ 7. กระดาษคำตอบของนักเรียนที่ชำรุด จะต้องแนบคืน สพฐ. 8. ในกรณีที่เด็กขาดสอบให้ครูผู้คุมสอบระบายในช่องขาดสอบของกระดาษ คำตอบของเด็ก และแนบกระดาษคำตอบของนักเรียนที่ขาดสอบเรียงลำดับตามปกติมาพร้อมกับผู้เข้าสอบอื่นๆ 9. กระดาษคำตอบสำรอง(ที่ไม่ได้ใช้) ไม่ต้องส่งคืนมายัง สพฐ. 10. กระดาษโจทย์และกระดาษคำตอบสำรอง (ร้อยละ 5) จะถูกส่งไปที่สนามสอบทุกแห่ง 11. สพฐ. จะเปิดเผยข้อสอบพร้อมเฉลย ตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2560 เป็นต้นไปหรือวันที่เขตสุดท้ายส่งข้อสอบมายัง สพฐ.

การรับส่งข้อสอบและกระดาษคำตอบ สพฐ. 1 – 4 มี.ค 60 10 – 15 มี.ค 60 ศูนย์สอบ (สพป.) 8 มี.ค 60 8 มี.ค 60 สนามสอบ

สิ่งที่ส่งไปยังสนามสอบ ข้อสอบ กระดาษคำตอบ คู่มือการจัดสอบ

(ป้องกันการแกะข้อสอบก่อนวันทำการสอบ) กระดาษกาวแบบแกะง่าย (ป้องกันการแกะข้อสอบก่อนวันทำการสอบ)

โครงสร้างข้อสอบ ด้าน เลือกตอบ เขียนตอบ แสดงวิธีทำ ภาษา (Literacy) 27 3 คำนวณ (Numeracy) 2 1 เหตุผล (Reasoning ability)

องค์ประกอบสำคัญของข้อสอบ LNR (รูปแบบเดียวกับข้อสอบ PISA) สถานการณ์ โจทย์ข้อคำถาม คำตอบ

ตัวอย่างของข้อสอบ LNR ความสามารถด้านภาษา (Literacy)

1 สถานการณ์ 2 ข้อคำถาม 3 คำตอบ

ให้นักเรียนเขียนอธิบายเส้นทางการเดินทางจากโรงเรียนไปยังโรงเรียนฝึกอาชีพ ให้นักเรียนเขียนอธิบายเส้นทางการเดินทางจากโรงเรียนไปยังโรงเรียนฝึกอาชีพที่สั้นที่สุด

ตัวอย่างของข้อสอบ LNR ความสามารถด้านการคิดคำนวณ (Numeracy)

1 สถานการณ์ 2 ข้อคำถาม 3 คำตอบ

ตัวอย่างของข้อสอบ LNR ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability)

1 สถานการณ์ 2 ข้อคำถาม 3 คำตอบ

ปริมาณแสงที่พืชต้องการ สถานการณ์ บริเวณบ้านหลังหนึ่งเป็นดังภาพ บ้าน เหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ ต้นมะม่วง 1 3 4 สระน้ำ 2 แสงแดดจัดในตอนบ่าย เฟี่องฟ้า แสงแดดรำไรตลอดวัน เฟิร์น แสงแดดจัดในตอนเช้า เข็ม แสงแดดจัดตลอดวัน กุหลาบ ปริมาณแสงที่พืชต้องการ ชนิดของพืช ตารางแสดงปริมาณแสงที่พืชต้องการ คำถาม จงเลือกตำแหน่งในการปลูกพืชในแต่ละชนิด

กระดาษคำตอบ ภาคเช้า ภาคบ่าย ภาคเช้า (สีเขียว) ภาคบ่าย (สีม่วง) สำรอง (สีส้ม) ภาคเช้า ภาคบ่าย

(นักเรียน เป็น ผู้ระบาย) กระดาษคำตอบ ข้อมูลนักเรียน ข้อสอบเลือกตอบ (นักเรียน เป็น ผู้ระบาย) ข้อสอบเขียนตอบ (ครูผู้ตรวจข้อสอบ เป็น ผู้ระบาย) ผู้ตรวจ 2 คน ตรวจข้อสอบเด็ก 1คน (ตัดสินใจร่วมกัน/ฉันทามติ)

ข้อมูลนักเรียนแต่ละคน จะถูกพิมพ์เสร็จเรียบร้อยมาจากโรงพิมพ์ หัวกระดาษคำตอบ ข้อมูลนักเรียนแต่ละคน จะถูกพิมพ์เสร็จเรียบร้อยมาจากโรงพิมพ์

การประมวลผล 1. หน่วยงานที่ประมวลผลคือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2. ประมวลผลข้อมูลเป็นรายบุคคล รายโรงเรียน รายเขตพื้นที่ รายจังหวัด รายภาค รายสังกัด และภาพรวมประเทศ 3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆของนักเรียนกับ ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน (งานวิจัย)

การรายงานผล 1. ประกาศผลสอบ วันที่ 24 เมษายน 2560 เป็นต้นไป 2. ดูผลสอบของนักเรียนผ่านระบบ NT Access 3. แบบรายงานผลสอบ รายบุคคล รายสถานศึกษา รายเขตพื้นที่การศึกษา รายสังกัด ภาพรวมประเทศ

กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. ติดต่อสอบถาม NT กลุ่มประเมินคุณภาพการศึกษา สพฐ. Phone 02-2885783, 02-2885787 Fax 02-2816236 ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป 081-4324688 การบริหารจัดการสอบ NT อ.ณัฐพร พรกุณา 081-7758315 อ.ก้องเกียรติ ปิ่นกุมภีร์ 089-2195054 อ.ศรีกันยา ธรรมพิทักษ์ 099-9726451 การประมวลผลและรายงานผล (NT Access) อ.วิทยา บัวภารังษี 081-6606326 อ.ประจักษ์ คชกูล 085-6865764 อ.มีนา จีนารักษ์ 081-7296913