ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
Advertisements

ระบบ บัญชีแยกประเภททั่วไป
โครงการฝึกอบรม ผ่าน Web Online สำนักงานคลังจังหวัดสงขลา
รายงานระบบจัดซื้อจัดจ้าง ผ่าน Web Online
เงินอุดหนุนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ
การตรวจสอบและการวิเคราะห์รายงานการเงิน สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
รายงานระบบจัดซื้อจัดจ้าง ผ่าน Web Online
แผนยุทธศาสตร์ กรมคุมประพฤติ พ.ศ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดแบบบูรณาการ เพื่อความสงบสุขของชุมชน อย่างยั่งยืน.
เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์
ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) และรูปแบบรายงานการเงิน
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
การบันทึกบัญชี ในระบบ GFMIS
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
สำนักงานคลังจังหวัดแพงเพชร
การประชุมชี้แจงเรื่อง การจ่ายเงินผ่านระบบ KTB corporate online
โครงการบริหารจัดการสิทธิ GFMIS Web Online
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
การวิเคราะห์อัตรากำลัง โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
ระบบเบิกจ่ายพัสดุครุภัณฑ์
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
The Comptroller General's Department ล้างบัญชีพักงานระหว่างก่อสร้าง
การประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการให้คำแนะนำ
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ)
1.
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการดำเนินงานให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลสุขภาพ และการป้องกันโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม.
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ขั้นตอนการรับและการเบิกจ่ายเงิน โครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร ตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 นางกุลฤดี พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง.
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง
มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ ปี 2558
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
การจ่ายเงิน การรับเงินและการนำเงินส่งคลัง
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
การเตรียมความพร้อมในวันสิ้นปีงบประมาณ
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
แนวปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ “เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์”
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง 1. การกำหนดหน้าที่ แบ่งแยกหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านการเงินและบัญชีและกำหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน มี Flow chart กระบวนงานเป็นระบบ ผู้รับผิดชอบด้านการเงินควรเป็นข้าราชการ เป็นลูกจ้างประจำ พนักงานราชการและต้องออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่ให้ชัดเจน มีคำสั่งมอบหมายผู้รับผิดชอบการจัดเก็บตามจุดเก็บเงินเป็นลายลักษณ์อักษร มีคำสั่งแต่งตั้งกรรมการเก็บรักษาเงิน และกำหนดหน้าที่กรรมการให้ชัดเจนตามระเบียบกำหนด มีคำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบตรวจสอบ การรับ-การจ่าย กับหลักฐานประกอบการบันทึกรายการบัญชีให้ครบถ้วนถูกต้อง โดยกำหนดบทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบให้ชัดเจน

2. เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝากคลัง และการเก็บรักษา 2.1 เงินสดคงเหลือประจำวันต้องไม่เกินวงเงินเก็บรักษาตามที่กำหนด 2.2 เงินทุกประเภทคงเหลือในมือต้องบันทึกเงินคงเหลือไว้ในรายงานเงินคงเหลือประจำวัน 2.3 จัดทำทะเบียนคุมเงินคงเหลือแต่ละประเภทรวมทั้งเงินรับฝาก และเงินอื่นๆ ถ้ามี 2.4 จัดทำทะเบียนคุมเงินรายได้แผ่นดินและบันทึกให้เป็นปัจจุบัน 2.5เงินนอกงบประมาณต้องนำฝากคลังและวงเงินฝากธนาคารพาณิชย์ต้องเป็นตามที่กระทรวงการคลังกำหนด 2.6 เงินนอกงบประมาณต้องนำฝากอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ตามระเบียบกำหนด 2.7 ผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบประจำวันต้องสอบทานการนำเงินฝากคลังทุกครั้ง

2.8 ทุกสิ้นวัน จนท. การเงินต้องจัดทำรายงานเงินสดคงเหลือ ให้กรรมการเก็บรักษาเงินตรวจสอบโดยตรวจสอบเงินสดคงเหลือตามรายงานเงินคงเหลือประจำวันและตรวจสอบสมุดคู่ฝากเปรียบเทียบกับบัญชีเงินฝากแต่ละบัญชี 2.9 ทุกสิ้นเดือนต้องจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารและมีการตรวจสอบความถูกต้องของงบทดรองและบัญชีเงินฝากธนาคารให้ครบทุกบัญชีก่อนออกรายงานประจำเดือนและรายงานประจำปี 2.10 การจัดส่งรายงานประจำเดือน/ประจำปี ต้องเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด รวมทั้งการติดตามรายงานและงบการเงินของหน่วยงานในสังกัดที่อยู่ในส่วนภูมิภาคให้งบการเงินเป็นปัจจุบันเสมอ

3. การรับเงิน 3.1 การรับเงินทุกประเภทต้องออกใบเสร็จรับเงิน และใบเสร็จรับเงินต้องเป็นไปตามที่กระทรวงคลังกำหนด 3.2 ก่อนนำส่งเงินที่รับแต่ละวันให้สอบทานความถูกต้องครบถ้วนก่อนสรุปยอดเงินรับแล้วลงชื่อกำกับในสำเนาใบเสร็จฉบับสุดท้าย และลงลายมือชื่อผู้รับ ผู้ส่งเงิน รวมทั้งผู้รับเงินต้องตรวจสอบยอดเงินกับสำเนาใบเสร็จก่อนลงลายมือชื่อรับเงินทุกครั้ง 3.3 ทุกสิ้นวันผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบต้องตรวจสอบการรับเงินจากสำเนาใบเสร็จพร้อมลงลายมือชื่อกำกับหากไม่ถูกต้องให้รีบปรับปรุงแก้ไขภายในวันนั้น 3.4 จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงิน และตรวจสอบใบเสร็จที่ยังได้ใช้ทุกฉบับเพื่อดูความครบถ้วนก่อนนำมาใช้แล้วให้ประทับตราว่าตรวจสอบใบเสร็จและลงลายมือชื่อผู้ตรวจสอบใบเสร็จว่าถูกต้องครบถ้วน

3.5 จัดทำรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินคงเหลือทุกสิ้นปีงบประมาณและรายงานหน.ส่วนราชการทราบ รวมทั้งติดตามตรวจสอบรายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินของหน่วยงานในสังกัด 3.6 กรณีผู้ขอสำเนาใบเสร็จเนื่องจากใบเสร็จสูญหายและต้องการให้ผู้รับเงินลงชื่อรับรองการรับเงินในสำเนาใบเสร็จเพื่อนำไปประกอบการเบิกจ่ายตามสิทธิ ให้ผู้จ่ายเงินนำใบแจ้งความและยื่นเอกสารร้องขอสำเนาใบเสร็จ ก่อน จนท.ผู้รับเงินลงลายมือชื่อรับรองต้องเสนอหัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบก่อนทุกครั้งห้ามถ่ายสำเนาใบเสร็จให้ผู้รับเงินก่อนได้รับอนุมัติ

4. การจ่ายเงิน 4.1 เมื่อรับหลักฐานการเบิกจ่ายให้ลงทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิกทุกหมวดรายจ่ายก่อนส่งต่อกระบวนการเบิกจ่ายโดยมีลายมือชื่อผู้รับหลักฐานการเบิกจ่ายในทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิกเพื่อป้องกันเอกสารสูญหาย 4.2 ตรวจสอบหลักฐานการจ่ายก่อนเบิกจ่ายให้ครบถ้วนถูกต้องให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา........ วัน หากมีการแก้ไขใบสำคัญให้ส่งคืนภายในระยะเวลา..........วัน หลังจากตรวจสอบ และให้นำส่งคืนคลังภายใน........ วัน และให้มีการติดตามใบสำคัญที่ส่งคืนเป็นลายลักษณ์อักษร 4.3 ห้ามเรียกใบเสร็จรับเงินก่อนมีการจ่ายเงิน 4.4 ให้ประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” พร้อมลงลายมือชื่อตัวบรรจง วัน เดือน ปี ในหลักฐานการจ่าย (ใบเสร็จรับเงิน ใบสำคัญรับเงิน ใบรับรองการจ่าย) ในวันที่จ่ายจริง

4.5 เมื่อจ่ายแล้วให้บันทึกจ่ายในทะเบียนคุมหลักฐานขอเบิกเพื่อตรวจสอบใบสำคัญค้างจ่ายและให้มีการเบิกจ่ายตามลำดับใบสำคัญ 4.6 จัดทำทะเบียนคุมเช็ค 4.7 วันที่หน้าเช็คต้องตรงกับวันที่จ่ายจริงและบันทึกบัญชีวันที่จ่าย ห้ามลงบัญชีล่วงหน้าโดยยังไม่ได้จริงเงินจริง 4.8 กรณีผู้รับเงินหรือผู้มีสิทธิไม่สามารถมารับเงินได้ด้วยตนเองให้ทำใบมอบฉันทะหากเป็นบุคคลภายนอกให้ทำใบมอบอำนาจเสนอหัวหน้าส่วนราชการหรือที่รับมอบหมายก่อนจ่ายเงิน 4.9 การเสนอลงนามในเช็คต้องรวบรวมหลักฐานการจ่ายพร้อมทะเบียนคุมการจ่ายเช็คเสนอผู้มีอำนาจลงนามทุกครั้งโดยผ่านการสอบทานก่อนนำเสนอ 4.10 หากมีเช็คที่จ่ายไม่มีการขึ้นเงินเป็นระยะเวลานานก่อนเช็คหมดอายุให้ติดต่อผู้ทรงเช็ค และกรณีเช็คหมออายุให้ผู้ทรงเช็คร้องขอให้เปลี่ยนเช็คฉบับใหม่แทน

4.11 กรณีผู้ทรงเช็คทำเช็คหายให้ใช้ใบแจ้งความประกอบการขอออกเช็คฉบับใหม่ และให้อายัดเช็คฉบับเก่า เสนอหัวหน้าส่วนราชการรับทราบและให้ความเห็นชอบ 4.12 กรณีมีเช็คที่ไม่มีผู้ไปขึ้นเงินเป็นระยะเวลานาน และเช็คหมดอายุ รวมทั้งไม่สามารถติดต่อผู้ทรงเช็คได้ รวมทั้งเงินที่ค้างบัญชีนานไม่สามารถตรวจสอบหาที่มาที่ไปได้และระยะเวลาผ่านไปนานพอสมควรแต่ต้องมีหลักฐานการตรวจสอบว่าได้มีการติดตามแล้วก่อนเสนอหัวหน้าส่วนราชพิจารณาและเห็นชอบก่อนนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน 4.13 ผู้ทำหน้าที่ตรวจสอบต้องตรวจสอบหลักฐานการจ่ายกับการบันทึกรายการในระบบให้ครบถ้วนถูกต้องก่อนลงนามรับรอง

การจัดระบบควบคุมภายใน ด้าน ระบบ GFMIS 1 มีคำสั่งมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานในระบบ GFMIS เป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งประกอบด้วยผู้ปฏิบัติและผู้อนุมัติ 2. แบ่งแยกหน้าที่ผู้วางเบิกกับผู้อนุมัติออกจากกัน 2.1 สิทธิการอนุมัติเบิกจากคลัง 2.2 สิทธิการอนุมัติจ่ายจากคลังและนำส่งเงิน 3. จัดทำทะเบียนคุมการเข้าใช้งานในระบบ GFMIS (สิทธิผู้ปฏิบัติงาน) 4. จัดทำแนวทางควบคุมการเข้าใช้งานในระบบกรณีพบปัญหา 5. มีคำสั่งมอบผู้รับผิดชอบตรวจสอบบัญชีในระบบ GFMIS และรายงานผลการ ปฏิบัติงานทุกสิ้นเดือน/สิ้นปี

การจัดระบบควบคุมภายใน ด้าน ระบบ GFMIS 6. ด้านระบบงบประมาณ 6.1 สอบทานการได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีจากเอกสารจัดสรรกับระบบ GF 6.2 จัดทำทะเบียนคุมเงินประจำงวด (Manual) 6.3 พิมพ์รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายเงินงบประมาณจากระบบ GFMIS ตรวจสอบกับทะเบียคุมเงินงบประมาณ ณ วันสิ้นเดือนทุกๆ เดือน เสนอหัวหน้าส่วนราชการ 7. ด้านระบบจัดซื้อจัดจ้าง 7.1 การสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย 1) สำรวจข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS และสอบยันข้อมูล เช่น บัญชีเงินฝากธนาคาร/ทะเบียนการค้า ฯลฯ พร้อมเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ 2) สร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ พร้อมเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติและส่งฉบับจริงให้คลังจังหวัดหรือกรมบัญชีกลาง 3) จัดทำทะเบียนข้อมูลหลักผู้ขายและจัดเก็บเอกสารสำเนาหลักฐานการสร้างข้อมูลหลักผู้ขาย

7.2 การจัดทำใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (บส.01, บส.04) ในระบบ GFMIS 1) จัดทำทะเบียนคุมใบสั่งซื้อสั่งจ้าง 2) เปรียบเทียบรายการสั่งซื้อตามใบสั่งซื้อกับ บส.01, บส.04 3) พิมพ์รายงาน Sap R/3 7.3 การตรวจรับพัสดุ (บร.01) - มีการตรวจรับพัสดุในระบบ GFMIS พร้อมพิมพ์รายงานตรวจรับ (บร.01) และบันทึกในทะเบียนคุม 7.4 เมื่อมีการจัดซื้อจัดจ้างจากเงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ วงเงินตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นไป ให้จัดทำใบสั่งซื้อจ้าง (PO) เพื่อจ่ายตรงผู้ขาย และจัดทำทะเบียนคุมใบสั่งซื้อสั่งจ้าง

8. ด้านระบบเบิกจ่ายเงิน 8.1 การเบิกเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณจากคลัง 1) การเบิกเงินจ่ายตรงเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของเจ้าหนี้/ ผู้มีสิทธ (ขบ.01 ขบ.03) ประเภท KA 2) การเบิกเงินไม่ผ่านการจัดซื้อจัดจ้าง (PO) เมื่อจ่ายตรงเข้าบัญชี เงินฝากธนาคารของเจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ (กรณีวงเงินไม่เกิน 5,000 บาท) (ขบ.02) ประเภท KC 3) การเบิกเงินผ่านส่วนราชการ (ขบ.02) เพื่อจ่ายเข้าบัญชีเงินฝาก ธนาคารของหน่วยงาน และบันทึกจ่ายในระบบ GFMIS (ขจ05) ตามที่จ่ายจริง และบันทึกในทะเบียนคุม 8.2 จัดพิมพ์รายงานขอเบิกเงินงปบระมาณและเงินนอกงบประมาณจาก ระบบพร้อมพิมพ์ Sap R/3 เพื่อตรวจสอบและเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ

8. 3 จัดพิมพ์สรุปรายงานขอเบิกประจำวันจากระบบตรวจสอบรายการขอเบิก (ขบ 8.3 จัดพิมพ์สรุปรายงานขอเบิกประจำวันจากระบบตรวจสอบรายการขอเบิก (ขบ.) จากระบบตรวจสอบกับหลักฐานขอขอเบิกเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ 8.4 รายงานสรุปรายการขอเบิกจ่ายเงินจากคลังเสนอผู้มีอำนาจทุกสิ้นเดือน 8.5 ค่าสาธารณูปโภคเบิกจ่ายตรงเข้าบัญชีหน่วยงานที่ให้บริการ เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ 8.6 กรณีจ่ายตรงผู้ขายพิมพ์รายงานสถานการณ์เบิกจ่ายแทนใบเสร็จรับเงินเป็นหลักฐานการจ่าย 8.7 รายงานสถานการณ์เบิกจ่ายประจำเดือน เสนอหัวหน้าหน่วยงานผู้เบิก ทุกสิ้นเดือน

9. ด้านระบบรับและนำส่งเงิน 9.1 ตรวจสอบหลักฐานการรับเงินและนำส่งเงิน เปรียบเทียบกับทะเบียนคุม และรายงานรับและนำส่ง 9.2 จัดพิมพ์รายงานการจัดเก็บและนำส่งเงินรายได้พิมพ์แบบ 1) นส.01 การจัดเก็บรายได้ 2) นส.๐๒ การนำส่งเงิน 3) นส.๐๓ การจัดเก็บรายได้แทนกันพร้อมพิมพ์รายงาน Sap R/3 ทุกฉบับ

9. 10 ด้านระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป กรณีการบันทึกเงินสด เงินฝากธนาคารพาณิชย์ และการปรับปรุงราย การบัญชีต่างๆ ดังนี้ 10.1 วิเคราะห์รายการทางบัญชีและดำเนินการบันทึกบัญชีผ่านระบบ GFMIS เป็นประจำทุกว้นที่เกิดรายการ พร้อมทั้งมีเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี ครบถ้วนตาที่คู่มือบัญชีภาครัฐสำหรับส่วนราชการกำหนด ดังนี้ - การบันทึกรับเงินสดและเงินฝากธนาคารพาณิชย์(ผ่าน web online บช.01 ประเภทเอกสาร RE) - การนำเงินสดฝากธนาคารพาณิชย์ (ผ่าน web online บช.01 ประเภทเอกสาร JR) - การบันทึกผ่านเงินสดและเงินฝากธนาคารพาณิชย์ (ผ่าน web online บช.01 ประเภทเอกสาร pp) - การบันทึกรายการที่ไม่เกี่ยวกับตัวเงิน (ผ่าน web online บช.01 ประเภท เอกสาร JV) ด้านระบบรับและนำส่งเงิน

10.2 พิมพ์เอกสารรายงานการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS มีผู้จัดทำ ผู้ตรวจสอบ และหัวหน้าหน่วยงานลงนามอนุมัติ พร้อมพิมพ์รายงาน Sap R/3 ทุกฉบับ 10.3 พิมพ์สมุดรายวันทั่วไปจากระบบ GFMIS ทุกสิ้นเดือน 10.4 พิมพ์สรุปรายงานการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS ประจำวันทุก วันที่เกิดรายการ 10.5 ตรวจสอบธนาคารรายตัว (Z bank) จากระบบ GFMIS กับบัญชีเงิน ฝากธนาคาร และจัดทำงบกระทบยอดบัญชีเงินฝากธนาคาร ณ วันสิ้นเดือนทุกบัญชี 10.6 หน่วยงานมีการปรับปรุงบัญชีเกณฑ์คงค้าง ณ วันสิ้นปีงบประมาณ ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณเพื่อนำข้อมูลเข้าระบบ GFMIS และตามที่กรมบัญชีกลางเปิดงวดเพิ่มเติม 10.7 หน่วยงานมีกรปฏิบัติงานด้านบัญชีตามเกณฑ์การประเมินผลการ ปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการ ตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด