การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนโครงร่างวิจัย
Advertisements

อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
1. รู้ถึงความต้องการของตัวเอง ก่อนก่อนเริ่มต้นออกแบบ เมื่อคุณเริ่มคิดจะออกแบบโบรชัวร์ออกมาอย่างไร ให้เริ่มต้น สอบถามลูกค้าของคุณก่อนว่าทำไม เค้าต้องการโบร์ชัวร์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การขอโครงการวิจัย.
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
หลักการและเทคนิคการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
หน่วยที่ 4 ตลาดเป้าหมาย.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ หรือ ข่าวแจก (Press Release / News Release) หมายถึง ข่าวสารซึ่งองค์กรจัดทำขึ้น เพื่อจัดส่งแจกจ่ายสู่หนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นๆ โดยจัดพิมพ์ในรูปของเอกสารข่าว มีวัตถุประสงค์เพื่อให้หนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนอื่นๆ นำไปเผยแพร่สู่ประชาชนเพื่อให้ประชาชนได้ทราบและเข้าใจในหน่วยงาน ตลอดจนเพื่อให้เกิดการยอมรับและภาพลักษณ์ที่ดี ข่าวประชาสัมพันธ์มักเป็นข่าวที่เกี่ยวข้องกับ นโยบาย โครงการ กิจกรรมการดำเนินงาน ผลการปฏิบัติงาน ความเคลื่อนไหวต่างๆ ขององค์กร

ประเภทของข่าวประชาสัมพันธ์ ข่าวแจ้งให้ทราบ (Announcement Release) เช่น แจ้งนโยบาย การดำเนินงาน การเปิดสาขา และแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ ฯลฯ เป็นการแจ้งให้ทราบรายละเอียดต่างๆ ของสิ่งที่เกิดขึ้นหรือที่จะมีขึ้น ข่าวกิจกรรมพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ (Event Release) เช่น จัดคอนเสิร์ต แรลลี่การกุศล ข่าวกิจกรรม/โครงการรณรงค์เพื่อสังคมต่างๆ ฯลฯ เป็นการสร้างให้มีสีสัน ดึงดูดความสนใจ และมุ่งให้เกิดความนิยมต่อองค์กร ข่าวเหตุการณ์เร่งด่วน (Spot News Release) เช่น เกิดเหตุเครื่องบินขัดข้องไม่สามารถเดินทางตามกำหนดได้ ฯลฯ เป็นการแจ้งให้ประชาชนได้ทราบอย่างรวดเร็ว ไม่เน้นเสนอรายละเอียดมาก ข่าวตอบโต้เหตุการณ์ (Response News Release) เป็นการชี้แจ้งรายละเอียดด้วยเหตุผลที่น่าเชื่อถือ ในประเด็นที่ถูกวิพากษ์วิจารณ์ เช่น ข่าวลือเกี่ยวกับการขาดทุน ข่าวความขัดแย้งภายในองค์กร ฯลฯ

ความแตกต่างระหว่างข่าวประชาสัมพันธ์กับข่าวทั่วไป จุดมุ่งหมายของการเผยแพร่ข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : เพื่อเผยแพร่ข่าวสารขององค์กรเป็นหลัก ข่าวทั่วไป : มุ่งถ่ายทอดข้อเท็จจริงและสาระความรู้ที่เป็นสาธารณชนเป็นสำคัญ ทิศทางของผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ข่าวประชาสัมพันธ์ : คาดหวังผลด้านดีต่อองค์กรเสมอ ข่าวทั่วไป : อาจให้ผลด้านดีและด้านไม่ดีแก่บุคคลหรือองค์กรก็ได้ ลักษณะของแหล่งข่าวหรือการได้ข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : นักPRจะส่งข่าวให้สื่อมวลชน หรือเชิญสื่อร่วมฟังการแถลงข่าว ข่าวทั่วไป : นักข่าวต้องแสวงหาข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง

ความรวดเร็วหรือความทันเหตุการณ์ กลุ่มเป้าหมาย ข่าวประชาสัมพันธ์ : มุ่งเผยแพร่สู่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะของตน ข่าวทั่วไป : มุ่งเผยแพร่สู่ประชาชนโดยส่วนรวม ขอบเขตของข่าว ข่าวประชาสัมพันธ์ : นำเสนอเกี่ยวกับเรื่องขององค์กร ข่าวทั่วไป : ครอบคลุมเนื้อหาหลายด้านของสังคมส่วนรวม ความรวดเร็วหรือความทันเหตุการณ์ ข่าวประชาสัมพันธ์ : ส่วนใหญ่สามารถรอเวลาในการเผยแพร่ได้ระยะหนึ่ง ข่าวทั่วไป : เน้นความสด รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์เสมอ

รูปแบบและโครงสร้างของข่าวประชาสัมพันธ์ การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ใช้หลักการเขียนข่าวเช่นเดียวกับข่าวทั่วไป โดยมีวิธีการเขียน 3 รูปแบบ ได้แก่ การเขียนข่าวแบบพีระมิดหัวกลับ การเขียนข่าวแบบพีระมิดหัวตั้ง และการเขียนข่าวแบบผสม 1. การเขียนข่าวแจกแบบพีระมิดหัวกลับ โครงสร้างของการเขียนข่าวแจก สามารถแบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ 1.1 พาดหัวข่าว (Headline) เป็นส่วนสำคัญ ที่เรียกร้องความสนใจให้ผู้อ่านติดตามอ่านข่าวนั้นต่อไป และช่วยให้รู้ว่าข่าวนั้นมีประเด็นอะไรน่าสนใจ ลักษณะของพาดหัวข่าวที่ดี คือ ควรสั้น กระชับ เข้าใจง่ายและตรงจุด

1.2 ความนำ หรือ โปรย (Lead) เป็นส่วนที่เขียนขึ้นในย่อหน้าแรกของข่าว เป็นข้อความที่เป็นเนื้อข่าวโดยย่อทั้งหมดว่าใคร ทำอะไร ที่ไหน เพราะเหตุใดหรือทำไม และอย่างไร (5Ws+1H) 1.3 ส่วนเชื่อม (Neck) เป็นส่วนเชื่อมข้อความระหว่างความนำกับเนื้อหาที่ต่อเนื่องกัน เพื่อให้รายละเอียดเพิ่มเติมหรือให้เข้าใจเรื่องราวได้กระจ่างยิ่งขึ้น เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาหรือภูมิหลังของเหตุการณ์ 1.4 เนื้อหาข่าว (Body) เป็นส่วนที่ให้เนื้อหารายละเอียดของเรื่องราวทั้งหมด การนำเสนอเนื้อหาข่าวมักจะเสนอตามลำดับความสำคัญของเรื่องราว จากสำคัญสุดไปถึงสำคัญน้อยที่สุด หรืออาจจำเสนอข่าวตามลำดับเวลาหรือเหตุการณ์ก็ได้

ข้อดีของการเสนอข่าวรูปแบบพีระมิดหัวกลับ 1.5 สรุป (Conclusion) ส่วนท้ายของข่าวแจกอาจจะมีการสรุปไว้ก็ได้ อาจจะเป็นจุดใดจุดหนึ่งของข่าว หรือเขียนย้ำข้อเท็จจริงเด่นๆ ที่ได้เสนอไปแล้วก็ได้ ข้อดีของการเสนอข่าวรูปแบบพีระมิดหัวกลับ สะดวกในการอ่าน สะดวกแก่การทำงานของบรรณาธิการข่าว สะดวกในการจัดหน้าหรือเข้าหน้าหนังสือพิมพ์

เนื้อหาข่าว (Body) -รายละเอียดของเรื่องราว - 5 W 1 H -เขียนแบบปิรามิดหัวกลับ พาดหัวข่าว วรรคนำ เนื้อหาข่าว

2. การเขียนข่าวแจกแบบพีระมิดหัวตั้ง เป็นการเขียนข่าวแจกที่กล่าวถึงรายละเอียดปลีกย่อยก่อน แล้วค่อยขยายรายละเอียดเพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆ จนถึงประเด็นสำคัญของเรื่องในตอนท้ายหรือตอนจบของข่าว 3. การเขียนข่าวแจกแบบผสม เป็นการเขียนข่าวที่มีประเด็นข่าวสำคัญมากกว่าหนึ่ง การเขียนข่าวอาจเริ่มต้นสรุปประเด็นแรกก่อนมาเขียนเป็นความนำ ขณะที่เนื้อข่าวก็จะเป็นการอธิบายรายละเอียดขยายความนำ จนกระทั่งถึงจุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งเป็นการหักเหหรือเปลี่ยนแปลงให้เกิดประเด็นสำคัญต่อเนื่องไปจนจบ

หลักในการนำเสนอข่าวประชาสัมพันธ์ เขียนข่าวให้เป็นลักษณะเดียวกับข่าวของหนังสือพิมพ์ ข่าวที่ส่งไปจะต้องเป็นเรื่องราวที่เหมาะสมกับหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับ ข่าวประชาสัมพันธ์หลายๆ เรื่องควรมีภาพประกอบที่เกี่ยวข้องหรือสอดคล้องกับข่าวส่งไปด้วย เช่น ภาพผู้บริหาร(บทสัมภาษณ์) ภาพผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น

ลักษณะของข่าวประชาสัมพันธ์ที่ดี เขียนในรูปแบบปิรามิดหัวกลับ เป็นข้อเท็จจริง ตรงไปตรงมา พาดหัวข่าว ระบุเรื่องราวโดยตรง มีความยาวไม่เกิน 1 ประโยค วรรคนำ ระบุข้อมูลสำคัญให้ชัดเจน แต่ละย่อหน้าต้องสั้นกระชับ เนื้อหาข่าวควรจบใน 1 หน้า หลีกเลี่ยงการกล่าวเกินความจริงเพื่อสร้างภาพ อธิบายให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ

ไม่ใช้สำนวนนักประพันธ์ ไม่ควรใช้ข่าวฉบับเดียวกัน เนื้อหาเหมือนกันส่งให้สื่อมวลชนทุกฉบับ การระบุจำนวนตัวเลข 1 – 9 เขียนเป็นตัวอักษร / 10 ขึ้นไป เป็นตัวเลข การเสนอข่าวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ควรระบุให้ชัดเจน เขียนชื่อตัวย่อของหน่วยงานในพาดหัวข่าว ถ้าหน่วยงานนั้นเป็นที่รู้จัก