การเขียนบทคัดย่อ (Abstract) ศาสตราจารย์สมบูรณ์ เทียนทอง ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เขียนชื่อโครงการวิจัยและคำถามงานวิจัย
-Oral/Poster Presentation Proposal Presentation Conduct Good Research -Abstract -MS writing -Oral/Poster Presentation R2R งานวิจัยชั้นสอง?
ความสำคัญของบทคัดย่อ/Abstract บทคัดย่อ: เป็นส่วนหนึ่งของผลงานวิจัยที่ จะตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุม Reviewer จะได้อ่านก่อนจะตอบรับ หรือปฏิเสธ การให้ความเห็นต่อ MS วารสาร (บางเล่ม) จะพิจารณาก่อนขอ MS กรรมการจะพิจารณาเมื่อมีการประกวดผลงาน ผู้อ่านจะเห็นได้เมื่อ search electronic databases บทคัดย่อ จึงเป็นตัวแทนทั้งหมดของ paper จึงเป็นหน้าที่ของผู้วิจัยทุกคนที่จะต้องทำให้มั่นใจว่า“เป็นบทคัดย่อที่ดีที่สุด”
ลักษณะโดยทั่วไปของบทคัดย่อที่ดี เป็นการสรุปความสำคัญของเนื้อเรื่องทั้งหมดของ manuscript ซึ่งถ้าอ่านบทคัดย่ออย่างเดียวควรจะได้รับข้อมูลสำคัญๆ ที่เพียงพอ ควรมีรายละเอียดให้มากเท่าที่ทำได้ตามจำนวนคำที่จำกัดของวารสาร จึงต้องมีทักษะที่ดีในการย่อความและการตัดสินใจที่จะสื่อสารว่าอะไรจำเป็น อะไรไม่จำเป็น ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์ทั้ง primary and secondary outcome ให้มากที่สุด ไม่ควรนำเสนอภาพรวมที่มีความลำเอียง เช่นเลือกนำเสนอยาหรือผลลัพธ์ที่สนับสนุนสมมติฐานเพียงอย่างเดียว แต่ควรนำเสนอ important non-significant and adverse finding ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้มีอิสระในการประเมินบทสรุปได้เอง Indian J Psychiatry. 2011 Apr-Jun; 53(2): 172–175
การเขียนบทคัดย่อ ตามมาตรฐานทั่วไป
Sections of an Abstract ชื่อเรื่อง ............................................................................ ชื่อ-ที่อยู่ ผู้วิจัยทุกคน .................................................... Structured abstract: ประกอบด้วย Background/ Introduction, อาจแยก Objectives อยู่ระหว่าง Background and Methods Methods Results/Findings Conclusions -วารสารส่วนใหญ่ ให้ word count 200–250 คำ -Present: > 250 คำ -Proceeding = short MS
การนับจำนวนคำ โปรแกรม Microsoft word Highlight ตรวจทาน abc123 word count 3 2 4 1
ชื่อเรื่อง : Titles เป็นส่วนแรกและส่วนสำคัญที่คนจะอ่านผลงานวิจัย ก่อนการพิมพ์: Reviewers & Editors จะดูชื่อเรื่องก่อนว่าน่าสนใจหรือไม่ ถ้าชื่อเรื่องไม่น่าสนใจ อาจไม่ได้รับการพิจารณาหรือไม่รับตีพิมพ์ แต่ถ้ารับตีพิมพ์อาจให้แก้ไขชื่อเรื่องอีกครั้ง ทำอย่างไรให้ค้นเจอ Strong Titles หลังการตีพิมพ์: การ search จะพบชื่อเรื่อง (อย่างเดียว) ก่อนเสมอ คำสำคัญในชื่อเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านค้นเจอ ผู้อ่านจะอ่านชื่อเรื่องก่อน ถ้าชื่อน่าสนใจ อ่าน บทคัดย่อ หรือ เนื้อเรื่องต่อไป ถ้าไม่น่าสนใจ จบ
Strong (Good) titles กระชับและเน้นสิ่งที่สำคัญที่สุด ประกอบด้วย 3 อย่าง: คำสำคัญ (เกี่ยวกับ research question) คำขยาย (เกี่ยวกับ population, context, study design) randomised controlled trial หรือ systematic review ผลกระทบ (เกี่ยวกับ result) หลีกเลี่ยงการใช้คำย่อ,ไม่มีความหมาย, คลุมเครือ, ตลกขบขัน, ใช้เฉพาะบางอาชีพ, ยากเกินไป (ต.ย.: ยาโหวง, รพ.สต.หนองแวง, เป้าใจล่อใจ ฯลฯ) ควรจะเป็นแบบไหนดี ระหว่าง indicative (purpose) หรือ informative (conclusion) ยังไม่มีข้อสรุป
Checklist for a Good title ชื่อเรื่องที่ตั้งไว้ ได้ให้ข้อมูลต่อไปนี้เพียงพอหรือไม่ (Yes) (No) ข้อมูลเกี่ยวกับ research question ( ) ( ) ประชากรที่ศึกษา ( ) ( ) บริบทของการวิจัย ( ) ( ) Study design ( ) ( ) ผลการศึกษา ( ) ( ) เสนอแก้ไขดังนี้: “………………………………………………………………………………………”
ตัวอย่างชื่อเรื่อง (1) Effectiveness of premedication agents administered prior to nitrous oxide/oxygen. (10 คำ) บอก: - ประสิทธิผลการใช้ยาpremedication แต่ไม่บอกว่าได้ผลอย่างไร ขาด: - Research question - Study population: ? - Study design: ? - Study context - Result (Informative): ใช้ได้ผลหรือไม่ Oral premedication with midazolam but not hydroxyzine hydrochloride increases sedation success rate in children undergoing dental treatments with nitrous oxide. A randomised controlled trial. (23 คำ) ยาวแต่ไม่มากแต่ได้ข้อมูลครบถ้วน
A Good Title -Brief -Concise การตั้งชื่อเรื่องจึงใช้เวลาและจินตนาการ -Complete -Good description of the content การตั้งชื่อเรื่องจึงใช้เวลาและจินตนาการ
Background/Introduction นำเสนอสั้นๆ ในหัวข้อต่อไปนี้: - สิ่งที่รู้แล้วเกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวกับคำถามงานวิจัยนี้ - สิ่งที่ยังไม่รู้เกี่ยวกับประเด็นนี้ (gap) และ - การวิจัยนี้กำลังจะศึกษาหรือต้องการจะค้นหาอะไรมานำเสนอ (ทำไมต้องทำ) เริ่มบอกตัวตน, ค้นพบปัญหา คิดหาทางแก้, ข้อมูลต้องแน่ แลดูแนวใหม่,ใส่ใจทฤษฎี, มีประโยชน์ จึงมีคำถามตามด้วยวัตถุประสงค์ ครบ 8 ข้อ
บทนำ เชื่อมโยง ความคิด ให้เห็นเป็นรูปธรรม คำถาม ปัญหา วัตถุประสงค์ ทบทวน อะไรคือสิ่งที่รู้แล้ว อะไรคือสิ่งที่ยังไม่รู้ ทำไมต้องทำงานวิจัยเรื่องนี้/จะทำอะไร
บทคัดย่อ R2R จำนวนตัวอักษรที่กำหนดให้ ที่มา 800 /ตัวอักษร ที่มา 800 /ตัวอักษร วัตถุประสงค์ 200 ระเบียบวิธีวิจัย 800 ผลการศึกษา 800 การนำไปใช้ประโยชน์ 400 บทเรียนที่ได้รับ 400 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 400 การสนับสนุนที่ได้รับ 300 800 ตัวอักษร = 330 คำ Total = 2600
เกณฑ์การให้คะแนน (ตติยภูมิ) 1.วิธีคิดคำถามวิจัยและประเด็นที่สอดคล้องกับงานประจำที่ทำ (ที่มา/ขนาดของปัญหา/วัตถุประสงค์) 20 2.การทบทวนองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ 10 3.ระเบียบวิธีการวิจัยและผลการศึกษา 4. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อผู้ป่วย/ผู้ปฏิบัติงาน/หน่วยงาน/ องค์กร 5.บทเรียนที่ได้รับ/ปัจจัยแห่งความสำเร็จ/การสนับสนุนที่ได้รับ 5 6.การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์(ในงานประจำ/ผลลัพธ์การบริการ/เชิงนโยบาย/เชิงวิชาการ/การพัฒนาคุณภาพงาน) 35 =100
วิธีคิดคำถามวิจัยและประเด็นที่สอดคล้องกับงานประจำที่ทำ (ที่มา/ขนาดของปัญหา/วัตถุประสงค์) 20 -อธิบายปัญหางานประจำอย่างเป็นเหตุเป็นผล/สามารถกำหนดปัญหาจากงานที่ปฏิบัติอยู่ 5 -ขอบเขต ขนาดและความสำคัญของปัญหา -ประเด็นวิจัยสอดคล้องกับงานประจำ(วัตถุประสงค์) -ความคิดริเริ่ม
การทบทวนองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ (10) เต็ม ได้ -มีการใช้แนวคิด ทฤษฏี ที่น่าสนใจ 5 x -มีการทบทวนเอกสาร การศึกษาปัญหาเบื้องต้น (เขียนให้ครอบคลุม แต่กระชับ) โดยทั่วไปจะไม่มีการเขียนทบทวนวรรณกรรมในบทคัดย่อ แต่ R2R ให้จำนวนคำเพิ่มขึ้นเพื่อให้มีนำเสนอการทบทวนด้วย แต่ไม่ต้องใส่อ้างอิง
หัวข้อ ตัวอย่าง บอกตัวตน ห้องพักฟื้น...?........ Routine Practice?….ส่งกลับตึกตรงเวลา ค้นพบปัญหา ผู้ป่วย ส่งกลับได้ช้า ........เพราะแผลปวดมาก ถ้าให้ MO(ต้องดูอีก 30 นาที)/จะส่งกลับทั้งที่ปวด? คิดหาทางแก้ (ทบทวน) ข้อมูลต้องแน่ (ถูกต้อง ครอบคลุม) ให้ยาอื่นหรือวิธีอื่น แทน Morphine ได้หรือไม่ จะปรับปรุง guideline ดีหรือไม่ มีปัจจัยอะไรที่เกี่ยวข้องและสามารถแก้ไขได้ แลดูแนวใหม่ (ไม่ใช้ลอกเลียน) อาจมีหลายวิธีที่น่าสนใจ เลือกที่สนใจ เช่น ประคบเย็นบริเวณแผลผ่าตัด ในห้องพักฟื้น คำถาม:แผลผ่าตัดชนิดไหนที่สามารถประคบเย็นในห้องพักฟื้นได้ การประคบเย็นจะช่วยระงับปวดได้หรือไม่
วัตถุประสงค์ Including a clear statement of the main aim(s) of the study and the major hypothesis tested or research question posed. Avoid statement such as “we aimed to evaluate the effectiveness of the x…” ให้สอดคล้องกับชื่อเรื่องและคำถามงานวิจัย
วิธีการศึกษา/Methods ควรให้ข้อมูลให้เพียงพอเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจว่านักวิจัยได้ทำอะไรบ้างและทำอย่างไร จึงมักจะมีความยาวเป็นลำดับที่ 2 ในบทคัดย่อ ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย: -ขาดข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับ sample size, numbers of patients in different groups, doses of medications, and duration of the study. -ไม่สามารถนำเสนอข้อมูลให้มีประสิทธิภาพสูงสุดตามข้อจำกัดจำนวนคำที่กำหนดไว้
วิธีการศึกษา/Methods ต้องตอบคำถาม สำคัญ ต่อไปนี้ รูปแบบของงานวิจัย เป็นงานวิจัยแบบใด ประชากรที่ศึกษาเป็นใคร ขนาดตัวอย่าง (ทั้งหมด หรือ กลุ่มละ) การสุ่มตัวอย่าง (ถ้าต้องใช้) สถานที่ศึกษาเป็นที่ใด ในชุมชนหรือโรงพยาบาล Intervention หรือ treatment ที่ใช้ในแต่ละกลุ่ม เป็นอะไร ให้dose ? ระยะเวลา ระบุว่าเริ่มดำเนินการศึกษาตั้งแต่เมื่อไหร่ถึงเมื่อไหร่ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล วัดโดยใคร Primary (+ secondary) outcome คืออะไร ให้คำจำกัดความให้ชัดเจน การวิเคราะห์ผลและ สถิติที่ใช้ (ไม่จำเป็นต้องเขียนที่บทคัดย่อ) เพื่ออธิบายวิธีทำวิจัย ให้เห็นภาพของการทำวิจัย
Setting: สถานที่ศึกษา Include the level of care e.g. primary, secondary; number of participating centres. Be general rather than give the name of the specific centre, but give the geographical location if this is important. Include the dates of the study period
Checklist สำหรับวิธีการศึกษา รูปแบบของงานวิจัย เป็นงานวิจัยแบบใด ประชากรที่ศึกษาเป็นใคร ขนาดตัวอย่าง (ทั้งหมด หรือ กลุ่มละ) การสุ่มตัวอย่าง (ถ้าต้องใช้) สถานที่ศึกษาเป็นที่ใด ในชุมชนหรือโรงพยาบาล Intervention หรือ treatment ที่ใช้ในแต่ละกลุ่ม เป็นอะไร ให้dose ? ระยะเวลา ระบุว่าเริ่มดำเนินการศึกษาตั้งแต่เมื่อไหร่ถึงเมื่อไหร่ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล วัดโดยใคร Primary outcome คืออะไร ให้คำจำกัดความให้ชัดเจน
ผลการศึกษา/Results เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของบทคัดย่อ จึงไม่ควรไปลดทอนมากเกินไป ผู้อ่านจะอ่านอย่างละเอียดเพราะอยากรู้ผลลัพธ์ของการศึกษา ส่วนนี้จึงเป็นส่วนที่ยาวที่สุดของบทคัดย่อ และควรมีรายละเอียดของผลการศึกษาให้มากที่สุดเท่าที่ทำได้ในจำนวนคำที่วารสารกำหนด ปัญหาที่พบบ่อย: คือการสื่อสารข้อมูลไม่ครบถ้วน เช่น “Response rates differed significantly between diabetic and nondiabetic patients; P<0.01)” ข้อมูลไม่ครบถ้วน “The response rate was higher in nondiabetic than in diabetic patients (49% vs 30%, respectively; P<0.01).”
ข้อมูลสำคัญที่ควรนำเสนอในผลการศึกษาควรมีอะไรบ้าง จำนวนผู้ป่วยที่รวบรวมข้อมูลได้ครบ Drop out rate ของแต่ละกลุ่ม โดยเฉพาะที่เกิดจากอาการข้างเคียงจากการศึกษา ผลลัพธ์ของ primary outcome ประกอบด้วยค่าจริง (ค่า P values) ผลลัพธ์ของ secondary outcomes ประกอบด้วยค่าจริง (ค่า P values) ข้อมูลที่เป็นตัวเลขอื่นๆ เช่น standard deviation, 95% CI, response and remission rates, effect sizes, relative risk, NNT หรือค่าทางสถิติอื่นๆ ที่คล้ายกัน ข้อมูลสำคัญที่เป็น negative finding ถ้ามีก็ควรนำเสนอด้วย
Conclusions เป็นส่วนของข้อมูลสำคัญของการศึกษา อธิบายสั้นๆ 2-3 ประโยค ควรมี 3 หัวข้อ: -The primary take-home message ส่วนใหญ่ -The additional findings of importance หรือผลที่ไม่คาดคิดอื่น -The perspective: เป็นธรรมเนียม แต่ไม่จำเป็นเสมอไปที่ต้องให้ความเห็นเกี่ยวกับ theoretical or practical implications of the findings, or the importance of their findings for the field. ความสำคัญ: ผู้อ่านจะเชื่อและนำข้อสรุปไปใช้อ้างอิงต่อไป จึงควรสรุปโดยยึดความเป็นจริงที่พบจากการศึกษาเท่านั้น ไม่ควรกล่าวอ้างเกินความจริงที่พบ ซึ่งนำไปสู่การทำผิดจรรยาบรรณนักวิจัย อาจเป็นอันตรายได้
สิ่งที่ไม่ควรนำเสนอในบทคัดย่อ การอ้างอิง รายละเอียดเกี่ยวกับ lab, หรือการวัดผลอื่นๆ ที่วัดผลเป็นประจำ ยกเว้นต้องการเน้นเรื่องนั้นๆ เป็นพิเศษ รายละเอียดเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ software ที่ใช้ ยกเว้นจะมีเหตุผลเฉพาะซึ่งจำเป็น รายละเอียดผู้ป่วยด้านสังคม ยกเว้นมีผลต่อการแปลผลหรือการประยุกต์ใช้ข้อมูล รายละเอียดข้อมูลการวิเคราะห์ทางสถิติ เช่น Chi-square = 7.49, df = 1, p < 0.001 การอธิบายว่ามีความแตกต่างกันและวงเล็บค่าสถิติไว้ก็พอ ข้อสังเกตอื่นๆ: สิ่งที่เขียนในบทคัดย่อ จะต้องปรากฏในเนื้อเรื่องด้วย ในทางกลับกันอย่าให้สิ่งผิดพลาดในเนื้อเรื่องปรากฏในบทคัดย่อ การฝึกเขียนอาจเทียบเคียงกับ paper ที่มีวิธีการที่คล้ายกันได้ แต่อย่าลอก เพราะอาจถูกตรวจสอบ ถ้ามีความซ้ำซ้อนสูง อาจถูกปฏิเสธการตีพิมพ์ได้
หัวข้อบทคัดย่อสำหรับ RCT, Observational และDiagnostic Studies ตัวอย่าง Background: Explaining the clinical (or other) importance of the study question. Objective(s): Including a clear statement of the main aim(s) of the study and the major hypothesis tested or research question posed. Avoid statements such as “We aimed to evaluate the effectiveness of X”. Design: For example, randomised controlled study, case control study, crossover study, observational study, survey, diagnostic test etc. Setting: Include the level of care e.g. primary, secondary; number of participating centres. Be general rather than give the name of the specific centre, but give the geographical location if this is important. Include the dates of the study period. Patients, other participants (for instance, volunteers) (delete what does not apply): Numbers entering and completing the study, sex, and ethnic group of patients if appropriate. Give clear definitions of how selected, entry and exclusion criteria. For animal studies, this information should be included in the Design or Setting section.
หัวข้อบทคัดย่อสำหรับ RCT, Observational และDiagnostic Studies ตัวอย่าง Intervention(s): What, how, when and for how long. This heading can be deleted if there were no interventions but should normally be included for randomised controlled trials, cross over trials, and before and after studies. Main outcome measures: What was the primary endpoint? What outcome measures were planned in protocol, which were finally measured (if different, explain why)? Results: Main results with (for quantitative studies) 95% confidence intervals and, where appropriate, the exact level of statistical significance. Conclusions: Primary conclusions and their implications, suggest areas for further research if appropriate. Guidance for Authors; European Journal of Anaesthesiology
ความหมายของการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ *Research Result Utilization เผยแพร่ RRU* ให้บริการผู้ป่วยด้วยตนเองหรือทีมงาน นวตกรรม /R&D นโยบาย (ฝากครรภ์) ความก้าวหน้า ทางวิชาการ X พัฒนา บุคลากร MedEd คุณภาพการบริการ (ผู้ป่วย) เชิงพาณิชย์: ศิริราชฉลาดคิด เชิงสาธารณะ; F-
ระดับของการใช้ประโยชน์จากผลงาน R2R การนำผลงานไปใช้ประโยชน์ 5 ระดับ (25/100 คะแนน) 1 ศึกษาหาปัญหาในหน่วยงาน ยังไม่ได้นำไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา 2 เกิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้นระดับหนึ่ง ผลกระทบที่เกิด ขึ้นอยู่ในวงจำกัด (เฉพาะหน่วยงานที่ทำและอาจเกิดจากการวิจัย แบบ AR มีองค์ความรู้/นวัตกรรมเกิดขึ้นจากการพัฒนางาน 3 เกิดการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในหน่วยงานให้ดีขึ้นมาก มีการ ขยายผลข้ามหน่วยงาน หรือเกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ของ องค์กร 4 มีการพัฒนาผลงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการขยายผลข้ามองค์กร 5 มีผลกระทบต่อสังคมในวงกว้าง ผลงานได้รับการยอมรับในวงการ วิชาชีพ (=meta R2R)
การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์กลุ่ม นวตกรรม นวัตกรรม เสร็จสิ้น มี 1 + มีการใช้หรือประยุกต์ใช้เฉพาะหน่วยงาน 3) มี 2+ มีการใช้ หรือประยุกต์ใช้ หรือเอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อยอดแก่หน่วยงาน 4) มี 3+ ได้รับรางวัลระดับประเทศ หรืออยู่ระหว่างการดำเนินการ 5) มี 3+ ได้รับรางวัลระดับนานาชาติ หรือได้รับการจดทรัพย์สินทางปัญญา
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factor: CSF) คือ ปัจจัยที่สำคัญยิ่งที่ทุกคนต้องประพฤติปฏิบัติให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมาย ผลการวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ส่วนใหญ่มี 7 ประการ ได้แก่ 1. ความมุ่งมั่นสู่.....(ความเป็นเลิศ) “ไม่มีความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ใดๆ ที่จะได้มาจากความเพียรพยายามเพียงน้อยนิด” 2. ภูมิปัญญา: ความรู้ ทักษะ ทั้งทางด้านเทคนิคและด้านการบริหาร 3. การเรียนรู้ตลอดชีวิต 4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5. มนุษยสัมพันธ์และทักษะการสื่อสาร 6. ทักษะการแก้ปัญหาและตัดสินใจ 7. การบริหารเวลา ความยุติธรรมเพียงประการเดียวที่ปรากฏอยู่บนโลกนี้ คือ ทุกคนมี 24 ชั่วโมงเท่าๆ กัน CSF ของทีมดนตรีในเรื่องพรจากฟ้า ข้อ (6) คือ เปลี่ยนจากการขอเป็นการให้
สรุป การเขียนบทคัดย่อ ให้ใส่ใจใน 5 ขั้นตอน 1. เขียนหัวข้อสำคัญ (Keyword) ย่อๆ ให้ครบทั้ง 8 หัวข้อหลัก (รวบรวม Idea) 2. เชื่อมโยงแต่ละย่อหน้าด้วย Keyword ที่สำคัญ 3. เพิ่มรายละเอียดอีกครั้ง ในส่วนที่เกี่ยว ข้องกับหัวข้อให้เห็นภาพหรือบริบทที่ชัดเจนมากขึ้น 4. ตรวจสอบคำผิด (comp/คน) ภาษาที่สละสลวย สื่อความหมายถูกต้อง ตัดคำซ้ำซ้อน (จำกัดจำนวนคำ) 5. ฟังความคิดคนอื่น : ทีมงาน (ทุกคนได้อ่าน?) /ผู้รู้
R2R ไม่ใช่การทบทวนงานเก่าๆ ที่ทำมาแล้วนำมาเขียนเป็นงานวิจัย 1. ปัญหา: งานประจำ 2.คิดพัฒนางานวิจัย องค์ความรู้ พัฒนางาน 3.เน้นผลลัพธ์ ที่ผู้รับบริการ 4.งานดีขึ้น? การวิจัย การศึกษาค้นคว้าอย่างมีระเบียบเพื่อแสวงหาคำ ตอบสำหรับปัญหา/คำถามการวิจัยที่กำหนดไว้ ลักษณะงานวิจัยที่เข้าข่าย R2R 1.โจทย์ของงานวิจัยได้มาจากปัญหาในการทำงานประจำ 2.การวิจัยที่ดำเนินการโดยผู้ปฏิบัติที่ต้องการพัฒนางานประจำ 3.ผลของงานวิจัย เน้นที่ผู้รับบริการ 4.สามารถนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานประจำ
CQI เป็นน้อง R2R ประเด็น CQI R2R ที่มาของปัญหา Y การทบทวน N/y คำนวณขนาดตัวอย่าง N ขนาดตัวอย่าง น้อย เหมาะสม วิธีการศึกษาถูกต้อง มาก ผลการศึกษาน่าเชื่อถือ สถิติที่ใช้เหมาะสม
Spectrum ของการพัฒนางาน เล็กน้อย ไม่เก็บข้อมูล ปรับ ปรุง ข้อมูล งานดีขึ้น CQI Beginner (ทำได้) Professional (ดี) R2R Spectrum ของการพัฒนางาน
10 “ไม่” R2R ไม่ใช่ระเบียบวิธีวิจัยใหม่ ไม่ใช่งานวิจัยขึ้นหิ้ง ไม่ใช่มาเดี่ยว ไม่เคยมีความรู้เรื่องการวิจัย ก็เริ่มทำวิจัยได้ ไม่ได้เริ่มจากอยากทำการวิจัย แต่เริ่มจากอยากพัฒนางานประจำด้วยใจ ไม่ควรเริ่มด้วยการอบรมระเบียบวิธีวิจัยและสถิติ แต่เริ่มต้นค้นหาปัญหาในงานประจำแล้วไปสืบค้นและวิเคราะห์กับเพื่อนร่วมงาน ไม่ใช่ผลงานวิจัยชั้นสอง แต่ต้องแม่นยำและชื่อถือได้ ไม่ต้องการทุนวิจัยจำนวนมาก ไม่ได้วัดที่จำนวนผลงานวิจัยเป็นผลสำเร็จของ R2R ไม่จำกัดเฉพาะปัญหาทางคลินิก
Research = DIY Learning by Doing MS Publication Presentation Abstract Learning by Doing