Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานยาเสพติด
Advertisements

1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ECT breast & Re-accredited plan
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team (MCATT)
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลบ้านโป่ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
หลักการใหม่ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การบริหารจัดการกำลังคน เครือข่ายบริการที่ 5
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
HRH Transformation การปฏิรูปกำลังคนด้านสาธารณสุข
ผลการบำบัดยาเสพติด ของโรงพยาบาลสวนปรุง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
การประชุมกลุ่ม เรื่องการพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ระบบจับบัตรคิวออนไลน์ Smart Hospital 4.0 โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่

Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด ระบบบริการการ(รพ.สต.>รพช.>รพศ./รพท.) ตรวจวินิจฉัยและการบำบัดรักษา/ด้านการติดตามดูแล การให้การดูแลทางสังคมและจิตใจ การส่งเสริมป้องกันในด้านสุขภาพจิต ระบบยา การคัดกรอง ติดตาม การดูแลปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน ด้านการส่งต่อ บุคลากร สถานที่ ปัญหาที่สำคัญ การฆ่าตัวตาย Depression Psychosis Alcohol โรคเด็ก 4 โรค ระบบสนับสนุน IT ปัญหาที่สำคัญ ภัยพิบัติ ยาเสพติด ความพร้อมของหน่วยบริการ /บริบท

มาตรการ : Psychiatric Service Plan สภาพปัญหา Psychiatric Service Plan จ.เชียงใหม่ ผลการพัฒนา ระบบ Zone ระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า/การดูแลรักษาผู้มีปัญหาการดื่มสุรา คลินิกจิตเวช/การการออกตรวจเครือข่ายโรงพยาบาลชุมชนของจิตแพทย์ จัดทำบัญชียาจิตเวชครอบคลุมยาจิตเวชและแนวทางการบริหารจัดการ กำหนดแนวทางการส่งต่อ-รับกลับ กำหนดฐานข้อมูลผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชของแต่ละสถานบริการ อบรมเพิ่มพูนทักษะ แพทย์/พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคัดกรอง /ครู+จนท ในการประเมินคัดกรอง 4โรคหลักในเด็ก แนวทางในการให้บริการโรคที่สำคัญ(CPG) โรคซึมเศร้ามีอัตราการเข้าถึงบริการ 36.76% (เมย58) Psychosis มีอัตราการเข้าถึงบริการ 49.79% (เมย58) ผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการ 2.16%(เมย58) อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 12.24/13.30 ต่อแสน (ปี56/57) หอผู้ป่วยใน  ระบบในเขตเมือง การติดตามคุณภาพของระบบเฝ้าระวัง ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วย เพื่อการติดตามในชุมชน ภัยภัยพิบัติ/ภาวะวิกฤติ และ ปัญหายาเสพติด มาตรการ : Psychiatric Service Plan การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชและการเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โรคจิต ผู้มีปัญหาการดื่มสุราและผู้ป่วยจิตเวชเด็ก 4 โรค (OPD/IPD/ Psychosocial care system/การคัดกรอง ติดตาม การดูแลปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน) การป้องกันและการแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย การรับมือภาวะวิกฤต การบำบัดรักษาผู้เสพสารเสพติด เป้าหมายผลลัพธ์ เป้าหมายบริการ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการมากกว่า 37 % ในปี 58 , 50 % ในปี62 ผู้ป่วยโรคจิต (psychosis)เข้าถึงบริการ 50/% ในปี58 , 70 % ในปี62 ผู้ป่วยโรคสุรา เข้าถึงบริการ 5/% ในปี 58, 13 % ในปี62 ผู้ป่วยเด็ก 4โรคหลัก เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้น อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงจากเดิมปีละ 5%(10.3 ต่อแสน (ปี62) ผู้ป่วยยาเสพติด มี Remission rate 50%(3เดือน) Retention rate 60% ติดตามครบ 4 ครั้งใน 1 ปี 70% ผ่านHA บริการยาเสพติด ทีมMCATTทุกอำเภอผ่านเกณฑ์มาตาฐาน มีระบบบริการจิตสังคมบูรณาการในคลินิกกลุ่มเสี่ยง ไม่ต่ำกว่า 70% ของสถานบริการในปี2562 มีบริการหอผู้ป่วยในอย่างน้อย 1 แห่งในรพ.ระดับ S ในปี2560-62 มีการคัดกรอง บำบัดรักษาทางจิตสังคมและติดตาม ต่อเนื่อง ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โรคจิต ผู้ป่วยสุรา / ยาเสพติด ตั้งแต่ระดับชุมชน /iจิตเวชเด็ก มีความพร้อมในการรับมือภาวะวิกฤตสุขภาพจิต/ภัยพิบัติ เพิ่มศักยภาพบริการเขตเมือง

ผลการดำเนินงาน ระบบ Zone : 5 zone ระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า/การดูแลรักษาผู้มีปัญหาการดื่มสุรา คลินิกจิตเวช/การการออกตรวจเครือข่ายโรงพยาบาลชุมชนของจิตแพทย์ แนวทางในการให้บริการโรคที่สำคัญ(CPG) จัดทำบัญชียาจิตเวชครอบคลุมยาจิตเวชและแนวทางการบริหารจัดการ แนวทางการส่งต่อ-รับกลับ

ผลการดำเนินงาน เสนอแผนเปิดหอผู้ป่วยจิตเวช 10-15เตียง ที่ รพ.ฝาง/จอมทอง 10-15เตียง ปี 2560 – 2561 พัฒนาศักยภาพบุคลากรต่อเนื่อง โครงการเพิ่มพูนทักษะ แพทย์ การคัดกรองโรคจิตเวชที่สำคัญ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า โรคจิต ผู้มีปัญหาการดื่มสุรา พัฒนาศักยภาพครู+จนท ในการประเมินคัดกรอง 4โรคหลักในเด็ก (ตาม zone) ทีม MCATT คุณภาพ

จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในเขตสุขภาพที่ 1 ปี 2556 - ปี 2558 (ณ 25พ.ค.2558) แยกรายจังหวัด จังหวัด ปี 2556 ณ 25 ต.ค.2557 ณ 25 พ.ค.2558 จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อัตราการ เข้าถึงบริการ แพร่ 4,921 54.41 4,950 55.21 5,057 55.82 แม่ฮ่องสอน 1,989 46.48 2,034 47.55 2,057 ลำพูน 3,098 38.80 3,099 38.66 3,102 เชียงใหม่ 11,797 37.12 11,795 36.76 11,796 เชียงราย 8,036 35.14 8,043 35.01 8,112 35.30 น่าน 3,153 34.46 3,156 34.61 3,190 34.63 ลำปาง 5,092 33.90 5,119 33.99 5,125 34.00 พะเยา 3,244 33.85 3,242 3,249 33.74 รวม 41,330 37.67 41,426 37.65 41,685 37.76 อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าของประเทศเท่ากับร้อยละ 38.28 ข้อมูลจากศูนย์โรคซึมเศร้าไทย

อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2553 ถึง 30 มิ.ย.2558 แยกรายอำเภอ อำเภอ ประชากรกลางปี 2556 คาดการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า(คน) 2.3% ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(ถึง มิ.ย.57) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ จำนวน (คน) ร้อยละ กัลยาณิวัฒนา 8,682 200 210 107.7 1,909 105.67 จอมทอง 55,553 1,278 619 48.54 786 61.52 ดอยเต่า 22,857 526 167 31.80 400 53.83 แม่วาง 26,241 604 183 30.35 251 42.25 ฮอด 35,409 814 218 26.88 485 41.26 สันป่าตอง 66,619 1,532 429 28.06 320 41.25 เมือง 204,113 4,695 1,267 27.02 609 40.66 แม่แจ่ม 44,220 1,017 268 26.59 151 39.33 แม่ออน 18,553 427 147 34.67 342 38.43

อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2553 ถึง 30 มิ.ย.2558 แยกรายอำเภอ อำเภอ ประชากรกลางปี 2556 คาดการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า(คน) 2.3% ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(ถึง มิ.ย.57) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ จำนวน (คน) ร้อยละ หางดง 69,863 1,607 137 8.61 330 36.10 แม่ริม 74,226 1,707 417 24.62 246 35.67 ดอยสะเก็ด 60,101 1,382 348 25.36 632 35.09 สะเมิง 18,955 436 103 23.60 34.64 ดอยหล่อ 23,175 533 61 11.44 467 26.64 สันกำแพง 69,532 1,599 171 10.75 580 26.07 พร้าว 42,988 989 167 16.88 336 24.88 แม่อาย 58,127 1,337 193 14.49 283 24.68 เวียงแหง 19,863 457 136 30.02 112 24.52

อัตราการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี 2553 ถึง 30 มิ.ย.2558 แยกรายอำเภอ อำเภอ ประชากรกลางปี 2556 คาดการณ์จำนวนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า(คน) 2.3% ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ(ถึง มิ.ย.57) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ จำนวน (คน) ร้อยละ แม่แตง 64,288 1,479 263 17.81 325 21.64 สารภี 68,953 1,586 162 10.27 112 20.49 อมก๋อย 41,141 946 119 12.75 142 20.29 สันทราย 106,056 2,439 164 6.8 255 19.14 เชียงดาว 65,073 1,497 110 7.39 16.77 ไชยปราการ 36,954 850 101 11.91 16.71 ฝาง 93,755 2,156 278 12.92 211 15.86 รวม 1,395,297 32,092 6,438 20.16 10,087 31.43

อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จของประชาชนในเขตบริการสุขภาพที่ 1 จังหวัด อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ : ต่อประชากรแสนคน จำนวน ปี 2557 (ราย) อัตรา ปี2551 ปี2552 ปี2553 ปี2554 ปี 2555 ปี 2556 เชียงใหม่ 14.93 14.29 11.98 12.9 13.08 12.24 12.51 210 เชียงราย 11.17 16.10 16.55 11.43 14.84 10.79 12 .59 152 ลำพูน 16.04 13.58 20.51 15.58 11.62 14.81 18.74 76 ลำปาง 8.71 10.18 9.96 10.14 9.24 11.79 10.89 82 พะเยา 9.65 11.29 10.68 11.1 10.67 13.15 9.50 46 แพร่ 14.85 10.16 11.92 10.44 13.65 62 น่าน 10.49 14.71 13.24 12.17 16.14 12.55 60 แม่ฮ่องสอน 15.37 12.94 15.68 9.86 14.33 13.30 33 ค่าเฉลี่ย 12.65 12.91 13.82 11.7 12.58 12.16 11.39 ประเทศ 5.98 5.97 5.90 6.03 6.20 6.08 6.07 3,950 สนย ก.สธ

อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อแสนประชากร 3 ปีย้อนหลัง เขตสุขภาพที่ 1 18.74 13.15 13.65 13.3 12.51 12.55 12.59 10.89 9.5 10.67 สนย ก.สธ

อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อแสนประชากร 3 ปีย้อนหลัง เขตสุขภาพที่ 1: เพศชาย 32.02 22.23 21.8 21.23 19.71 16.76 18.69 15.63 สนย ก.สธ

อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จต่อแสนประชากร 3 ปีย้อนหลัง เขตสุขภาพที่ 1: เพศหญิง 6.59 6.23 6.23 5.56 5.22 4.23 3.71 3.63 สนย ก.สธ

ฆ่าตัวตายสำเร็จและพยายามทำร้ายตัวเอง จังหวัดเชียงใหม่ ถึง 30 มิ.ย.2558 พยายามทำร้ายตัวเอง(คน) ฆ่าตัวตายสำเร็จ อัตราต่อแสนประชากร 1.กัลยานิวัฒนา 2 2.จอมทอง 4 9 6.03 3.ฝาง 8 17 7.13 4.แม่ออน 5 9.40 5.ดอยเต่า 3 7.33 6.ฮอด 6 7.เวียงแหง 7 25.79 8.แม่วาง 12.77 9.สันป่าตอง 9.28 เป้าหมายจังหวัด <10.3 ต่อแสน

ฆ่าตัวตายสำเร็จและพยายามทำร้ายตัวเอง จังหวัดเชียงใหม่ ถึง 30 มิ.ย.2558 ฆ่าตัวตายสำเร็จและพยายามทำร้ายตัวเอง จังหวัดเชียงใหม่ ถึง 30 มิ.ย.2558 ฆ่าตัวตายสำเร็จ พยายามทำร้ายตัวเอง(คน) ฆ่าตัวตายสำเร็จ อัตราต่อแสนประชากร 10.ดอยหล่อ 3 5 11.43 11.แม่ริม กำลังรวบรวมข้อมูล 12.แม่แจ่ม 2 3.45 13.ดอยสะเก็ด 4 7 5.80 14.พร้าว 6 10.06 15.แม่อาย 13 4.11 16.ไชยปราการ 17.อมก๋อย 18.สะเมิง 8.57 เป้าหมายจังหวัด <10.3 ต่อแสน

ฆ่าตัวตายสำเร็จและพยายามทำร้ายตัวเอง จังหวัดเชียงใหม่ ถึง 30 มิ.ย.2558 พยายามทำร้ายตัวเอง(คน) ฆ่าตัวตายสำเร็จ อัตราต่อแสนประชากร 19.สารภี 10 14 12.74 20.หางดง 7 13 8.65 21.สันกำแพง 6 7.54 22.แม่แตง 5 11 6.67 23.สันทราย 1 2 0.82 24.เชียงดาว 4 25 4.86 25.เมือง กำลังรวบรวมข้อมูล รวม 86 180 5.18 เป้าหมายจังหวัด <10.3 ต่อแสน

ข้อเสนอแนะ การ monitor & evaluation ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า โดยเฉพาะอำเภอที่ยังต่ำกว่าเกณฑ์ วิเคราะห์หาสาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตาตายโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีอัตราการฆ่าตัวตายสูง เพื่อวางแผนในการป้องกันในพื้นที่ต่อไป ต่อยอดการพัฒนาและการนำฐานข้อมูลมาใช้วิเคราะห์อย่างเป็นระบบเพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาที่เฉพาะในพื้นที่

ผลงานเด่น การถอดบทเรียน “การเตรียมความพร้อมและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข: กรณีเหตุสารโพแทสเซียมคลอเรตระเบิด ปี พ.ศ.2557” อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่

โครงการแก้ไขปัญหาผู้เสพผู้ติดยาเสพติด การดำเนินงานตามประกาศ คสช.108/2557 จัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองที่โรงพยาบาลประจำอำเภอทุกอำเภอ มีการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติด ในระบบสมัครใจ (โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองฝ่ายปกครอง) ณ กองร้อยอาสารักษาดินแดนจังหวัดเชียงใหม่ ที่ 1 5 รุ่น ๆ ละ 60 คน รวม 300 คน โดยใช้หลักสูตร ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาเสพติดต้นแบบ(มาตรฐานใหม่) วิชาการ 9 วัน ฝึกอาชีพ 6 วัน รุ่นที่ 1 วันที่ 27 เมษายน – 11 พฤษภาคม 2558 รุ่นที่ 2 วันที่ 18 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2558 รุ่นที่ 3 วันที่ 4 มิถุนายน – 18 มิถุนายน 2558 รุ่นที่ 4 วันที่ 1 กรกฎาคม – 15 กรกฎาคม 2558 รุ่นที่ 5 วันที่ 20 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2558

การจัดระบบบริการพัฒนาการบำบัดรักษายาเสพติด รพ.สต. : การคัดกรองเบื้องต้นตามแบบคัดกรองมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข/การดูแลทางสังคมและจิตใจ การส่งต่อ /การส่งเสริมป้องกันสุขภาพจิต รพช.: มีคลินิกยาเสพติดทุกแห่ง โรงพยาบาลนครพิงค์ : รับดูแลผู้ป่วยนอกที่มีโรคร่วมทางกายร่วมด้วย

จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามประเภทสารเสพติดที่มาบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2553 – 30 มิถุนายน 2558 สารเสพติดที่มาบำบัด ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ยาบ้า 3,411 5,802 7,840 7,984 6,391 3,149 ฝิ่น 692 768 769 945 1,064 681 เฮโรอีน 200 223 300 364 476 470 อื่นๆ 447 361 423 391 454 338 รวม 4,750 7,154 9,332 9,684 8,385 4,638

จำนวนและร้อยละผู้เข้ารับการบำบัด เปรียบเทียบเป้าหมาย จำแนกตามรูปแบบการรักษา จ.เชียงใหม่ ปี 2558(30 มิถุนายน 2558) รูปแบบการรักษา เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ ระบบสมัครใจ บำบัดในหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 1,560 1,676 107.4 กึ่งสมัครใจ ตามประกาศ คสช.108/2557 1,917 NA ระบบบังคับบำบัด 2,270 2,226 98.06 ระบบต้องโทษ 700 736 105.1 รวม 6,447 4,638 71.9

ผลการดำเนินงาน Early Remission rate (เป้าหมาย ≥ 50%; 3เดือน)  66.7% Retention rate ในโปรแกรม (เป้าหมาย ≥ 60%)  97.2% ผู้เสพ ผู้ติดที่ผ่านการบำบัดครบตามกำหนด ได้รับการติดตามครบ 4 ครั้งใน 1 ปี (เป้าหมาย ≥70%)  รอประเมินครบ 1 ปี ผ่านการประเมินรับรองคุณภาพการบำบัดรักษายาเสพติดของสถานบำบัด : HA ยาเสพติด 23 แห่ง ปี 2558 มีโรงพยาบาลที่ต้อง Re-accredit จำนวน 7 แห่ง

ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ การนำผู้เสพเข้าสู่การบำบัดในค่ายมาตรฐานใหม่ เห็นควรมีการประสานงานเพิ่มเติมในกรณีที่ไม่เป็นไปตามแนวทาง การทบทวนปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามนโยบาย อาทิ ภาระงาน ความเสี่ยงบุคลากร ความสี่ยงของผู้เข้ารับการบำบัด การประสานงาน การติดตามช่วยเหลือ การลงข้อมูล มีการกำกับดูแลมาตรฐานสถานพยาบาลยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ทบทวนแผนพัฒนาตามservice plan เพื่อทบทวนและทราบศักยภาพของบุคลากร และสถานที่ในการรองรับ

ข้อเสนอแนะที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ จัดให้มีบริการสำหรับผู้ติดฝิ่นและอนุพันธ์ของฝิ่นอย่างทั่วถึง ปัจจุบันมีอำเภอที่ให้เมทาโดนทดแทน ได้แก่ รพ.ฝาง แม่อาย ไชยปราการ เชียงดาว เวียงแหง เชียงดาว แม่แตง พร้าว จอมทอง เมือง(รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์) ยังขาดพื้นที่อำเภออมก๋อย ซึ่งมีผู้เสพผิ่นปริมาณมาก