สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2562 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
พื้นที่เป้าหมาย : สสจ. 8 จังหวัด จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน พื้นที่เป้าหมาย : สสจ. 8 จังหวัด กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. สสจ.ส่งแผนปฏิบัติการ ให้ศูนย์อนามัย สคร.ประสานขอสำเนาแผนฯ รวบรวมส่งสำนัก EnvOcc สสจ. 8 จังหวัด 2. สสจ.ประเมินตนเองตามเกณฑ์ที่กำหนด ส่งไปยังศูนย์อนามัย สคร.ประสานขอข้อมูลการประเมินตนเอง รวบรวมข้อมูลส่งสำนัก EnvOcc 3. สคร. ร่วมกับศูนย์อนามัย ลงประเมินตามเกณฑ์ สรุปผลการประเมิน และรายงานผลไปยังสำนัก EnvOcc
พื้นที่เป้าหมาย : จ.กาญจนบุรี การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตสุขภาพพิเศษเชิงอุตสาหกรรม (Occupational and Environmental Health Profile: OEHP) พื้นที่เป้าหมาย : จ.กาญจนบุรี กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. สสจ.จัดตั้งคณะทำงานในระดับพื้นที่ จ.กาญจนบุรี 2. สสจ.จัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด และส่งแผนฯ มายัง สคร. 3. สสจ.กำหนดพื้นที่ปัญหาในการเฝ้าระวังในพื้นที่ 4. สสจ.จัดทำระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการเฝ้าระวังในพื้นที่ที่เป็นปัญหา และสรุปผลการดำเนินงาน ส่งมายัง สคร.
พื้นที่เป้าหมาย : จ.นครปฐม จ.สมุทรสาคร จ.ราชบุรี การพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตสุขภาพพิเศษเชิงอุตสาหกรรม (Occupational and Environmental Health Profile: OEHP) พื้นที่เป้าหมาย : จ.นครปฐม จ.สมุทรสาคร จ.ราชบุรี กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. สสจ.จัดตั้งคณะทำงานในระดับพื้นที่ จ.นครปฐม จ.สมุทรสาคร จ.ราชบุรี 2. สสจ.จัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับจังหวัด และส่งแผนฯ มายัง สคร. 3. สสจ.จัดทำ(ร่าง)ข้อมูลพื้นฐาน OEHP ส่งมายัง สคร. 4. สสจ.จัดทำข้อมูลพื้นฐาน OEHP ฉบับสมบูรณ์ และสรุปผลการดำเนินงาน ส่งมายัง สคร.
จัดทำข้อมูลสถานการณ์การสัมผัสสารตะกั่วในเด็กไทย กลุ่มอายุ 0-5 ปี พื้นที่เป้าหมาย : จ.สมุทรสาคร จ.ประจวบคีรีขันธ์ กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. สคร. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานจัดทำข้อมูลสถานการณ์การสัมผัสสารตะกั่วในเด็ก 0-5 ปี จ.สมุทรสาคร จ.ประจวบคีรีขันธ์ และ รพ.ที่สนใจ 2. สสจ. ส่งรายชื่ออำเภอเป้าหมายที่มีความพร้อมจัดทำข้อมูลสถานการณ์การสัมผัสสารตะกั่วในเด็ก 0-5 ปี 3. สคร. และ สสจ. จัดทำแผนปฏิบติการร่วมกัน 4. สสจ. รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ทุกไตรมาส 5. สคร. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนฯ และสรุปสถานการณ์การสัมผัสสารตะกั่วในเด็ก 0-5 ปี เสนอผู้บริหาร
การดำเนินการด้านปัญหาและผลกระทบด้านสุขภาพจากมลพิษขยะ พื้นที่เป้าหมาย : จ.ราชบุรี จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.กาญจนบุรี จ.สมุทรสาคร กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 1. สคร. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานให้จังหวัดทราบ จ.ราชบุรี จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.กาญจนบุรี จ.สมุทรสาคร 2. สสจ.ทบทวนและระบุปัญหาเสี่ยง พื้นที่เสี่ยง และจำนวนประชากรเสี่ยง โดยทบทวนจากข้อมูลเดิม ปี 61 พร้อมจัดทำแผนปฏิบัติการ 3. สสจ.ดำเนินการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพตามแผนฯ สรุปข้อมูลความก้าวหน้าตามแบบฟอร์ม ส่ง สคร. ในแต่ละไตรมาส 4. สคร.รวบรวมข้อมูล และส่งผลการดำเนินงานในพื้นที่เป้าหมาย ส่งสำนัก Env-Occ
พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการปี 2562 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพกลุ่มแรงงานนอกระบบ/ภาคเกษตร เป้าหมายระดับกระทรวง ร้อยละ 45 ของแรงงานเข้าถึงบริการอาชีวอนามัย ร้อยละ 70 ของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ระดับพื้นฐาน ขึ้นไป เป้าหมายระดับเขต ร้อยละ 45 ของแรงงานเข้าถึงบริการอาชีวอนามัย จำนวนหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ระดับพื้นฐาน อย่างน้อยร้อยละ 70 ขึ้นไป เป้าหมายระดับจังหวัด ร้อยละ 45 ของแรงงานเข้าถึงบริการอาชีวอนามัย จำนวนหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่ผ่านเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ระดับพื้นฐาน อย่างน้อยร้อยละ 70 ขึ้นไป
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จำนวนหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิผ่านเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัย ให้แรงงานในชุมชน (ยอดสะสม) ตั้งแต่ปี 2557-2561
พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย เป็นพื้นที่เสี่ยงทางมลพิษสิ่งแวดล้อม (Hot Zone) ให้มีการดำเนินการตามแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (25ข้อ) ได้แก่ ตำบลน้ำพุ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี (ขยะ) ตำบลองค์พระ ตำบลวังคัน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี (สารหนู) ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (ตะกั่ว) อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี (ขยะ) อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร (ตะกั่ว) อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี (ขยะ)
พื้นที่เป้าหมาย 2. พื้นที่ รพ.สต ที่ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก (11ข้อ) พัฒนาเป็นเกณฑ์ 25 ข้อ *กรณีสนใจเข้าร่วม รพ.สต บ้านภูมิ จังหวัดนครปฐม รพ.สต ดอนจวง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รพ.สต ทรายทอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รพ.สต วังยาว จังหวัดเพชรบุรี
Timeline กิจกรรม ส่งรายชื่อ รพ.สต ที่เข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4 ส่งรายชื่อ รพ.สต ที่เข้าร่วมการจัดบริการอาชีวอนามัย สนับสนุน นิเทศ ติดตาม รพ.สต ที่เข้าร่วม ประเมินรับรองผล รพ.สต ในพื้นที่เสี่ยงและ รพ.สต ยกระดับเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัย
พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการปี 2562 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรม เป้าหมายระดับกระทรวง สถานประกอบการ มีการจัดบริการครบวงจร 228 แห่ง จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ 760 แห่ง หน่วยบริการ สธ. มีการจัด wellness center 76 แห่ง เป้าหมายระดับเขต สถานประกอบการ มีการจัดบริการครบวงจร ระดับเริ่มต้น อย่างน้อย 32 แห่ง ขึ้นไป จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ อย่างน้อย 120 แห่ง หน่วยบริการ สธ. มีการจัด wellness center อย่างน้อย 8 แห่ง เป้าหมายระดับจังหวัด สถานประกอบการ มีการจัดบริการครบวงจร ระดับเริ่มต้น จังหวัดละ 4 แห่ง ขึ้นไป จำนวน สปก. เข้าร่วมโครงการ สปก ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ อย่างน้อย 15 แห่ง/จังหวัด หน่วยบริการ สธ. มีการจัด wellness center อย่างน้อย 1 แห่ง /จังหวัด
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัยเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2561 มี โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง และ โรงพยาบาลชุมชน 2 แห่ง ดังนี้ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านเกณฑ์ระดับ ดีเด่น โรงพยาบาลสามพราน จังหวัดนครปฐม ผ่านเกณฑ์ระดับ เริ่มต้นพัฒนา
พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่เป้าหมาย (นำร่อง สคร.ละ 2 แห่ง) ในการจัด wellness center ผ่านเกณฑ์พื้นฐาน โรงพยาบาลนครปฐม จังหวัดนครปฐม โรงพยาบาลพุทธเลิศหล้า จังหวัดสมุทรสงคราม 2. สนับสนุนให้ทุกจังหวัดมีการดำเนินการ ในการจัด wellness center 3. สนับสนุน หน่วยบริการสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช. (M2) มีการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ตามมาตรฐานที่กรมควบคุมโรคกำหนด (ระดับเริ่มต้นพัฒนาขึ้นไป) -รพท.ประจวบคีรีขันธ์ -รพศ.ราชบุรี -รพช.บางสะพาน -รพท.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า -รพช.ชะอำ -รพท.โพธาราม -รพช.ทองผาภูมิ -รพท.บ้านโป่ง -รพช.พระสังฆราชองค์ที่ 19 -รพท.ดำเนินสะดวก
Q1 Q2 Q3 Q4 Small Success 00 Key Activities จุดเน้น : ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงาน Wellness Center Template Project ติดดาว : การพัฒนาการจัดบริการอช.&เวชกรรม สวล. ใน Wellness Center Small Success KPI : ข้อมูลสุขภาพด้าน Env.-Occ. ใน Wellness Center ระดับจังหวัด/เขต/ประเทศ - ร่วมพัฒนา รพ.นำร่อง 15 แห่ง (ศ.สำโรง+สคร.) - รูปแบบการดำเนินงานของ Wellness Center ใน Hospital Based Q1 00 Key Activities สำนัก สคร./สปคม. 1. พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ของ Wellness Center ใน Hospital Based 2. พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน PCC ในโรงงาน 3. พัฒนารูปแบบข้อมูลและการ วิเคราะห์ข้อมูลในการเฝ้าระวัง โรค Env.-Occ. 4. พัฒนาสถานฯ PCC ในโรงงาน 5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. พัฒนา/ขับเคลื่อนร่างข้อเสนอ เชิงนโยบาย/มาตรการ พัฒนาความรู้ ศักยภาพบุคลากรระดับพื้นที่/จังหวัด /เขต ผลักดัน/สนับสนุนจังหวัดในการดำเนินงาน Wellness Center วิเคราะห์ปัญหา เสนอแนวทางแก้ไขตามบริบทแต่ละพื้นที่ ร่วมขับเคลื่อนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดทำข้อมูลระดับเขต และส่งให้สำนักฯ จัดทำระดับประเทศต่อไป Q2 - ข้อมูลการตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง - รูปแบบในโรงงานที่เป็น PCC (งานอช.+สคร.) โรงงาน ใน Factory Based - ขยายจำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วม - จับคู่โรงพยาบาล และสถานประกอบการ อย่างน้อย 1 แห่ง Q3 ระบบ Data Center ที่มีข้อมูลการเฝ้าระวังโรค Env.-Occ. สถานประกอบการนำร่อง PCC (สำนักฯ) Q4 - สถานการณ์ปัญหาสุขภาพด้าน Env.-Occ. - ร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย/มาตรการ ระดับจังหวัด/เขต/ประเทศ วิธีการ M&E : ติดตามสถานะข้อมูลสุขภาพด้าน Env.-Occ. ใน Wellness Center รายเดือน/ไตรมาส 16
Project ติดดาว คือ ศูนย์กลางในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพของคนทำงานในสถานประกอบกิจการที่ครอบคลุมความเสี่ยง ทุกความเสี่ยง ตามแนวคิด สุขภาพองค์รวม (Total worker health) เพื่อให้คนทำงานมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง จิตใจ ที่เป็นสุข
“ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงานในสถานประกอบการ” วัตถุประสงค์ “ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงานในสถานประกอบการ” ลูกจ้างในสถานประกอบการมี “ศูนย์กลาง” ในการให้คำปรึกษา และดูแล ส่งเสริมสุขภาพที่ครอบคลุมในทุกมิติ (สุขภาพแบบองค์รวม : Total worker health) นำไปสู่การมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงการดำเนินงานในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพ ระหว่างสถานประกอบการ กับ หน่วยบริการสาธารณสุข จนไปนำสู่การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในองค์กรที่ยั่งยืน เพื่อติดตาม และประเมินผลความก้าวหน้าในการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค
“กลุ่มเป้าหมาย” ประชากรวัยทำงาน (15 - 59 ปี) ทำงานในสถานประกอบการ ที่ยัง ไม่ป่วย กลุ่มเฝ้าระวัง หรือกลุ่มเสี่ยง ของโรควัยทำงาน
“แพคเกจศูนย์สุขภาพดีวัยทำงานในสถานประกอบการ” เข้าถึงง่าย คนใช้มีศักยภาพ จัดตั้งขึ้นในสถานประกอบการ โดยเชื่อมใน ห้องรักษาพยาบาล ให้เป็น “ห้องส่งเสริมสุขภาพ” หรือ คลินิกความปลอดภัย ให้เป็น “ศูนย์จัดการสุขภาพและความปลอดภัย” พัฒนาศักยภาพ Key Persons โดยการอบรม Company Health Leader กำจัดความเสี่ยงได้ราบคาบ สร้างสุขภาพที่ดี รู้ทันความเสี่ยงทางสุขภาพ โดยมีวิธีการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ/แบบคัดกรองความเสี่ยงในทุกด้านให้ สร้างสุขภาพที่ดีในทุกด้าน มีแพคเกจ/โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพในแต่ละกลุ่มให้/มี สธ. เชื่อมต่อการทำงาน
* * * ตัวอย่างขั้นต้นของกิจกรรมการดำเนินงาน สปก. สามารถพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมได้ แต่ต้องยึดหลัก “Total worker health” เป็นสำคัญ ตัวอย่างขั้นต้นของกิจกรรมการดำเนินงาน “ศูนย์สุขภาพดีวัยทำงานในสถานประกอบการ” * 6 1 Establish committee มีการจัดตั้งทีมงาน หรือ ผู้รับผิดชอบฯ ดำเนินงาน Monitoring ติดตามผล และมีการบันทึกภาวะสุขภาพอย่างต่อเนื่อง 2 Assessment ทีมงานนำสถานการณ์ทางสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในทุกด้าน (กาย และใจ) มาประเมินและวิเคราะห์ หากพบความเสี่ยงให้ประเมินเฉพาะด้านต่อ (+Smart Detect) Intervention ให้คำปรึกษา/จัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ ประสานส่งต่อกับหน่วยบริการ สาธารณสุข ในกรณีที่มีปัญหาเฉพาะ และ มี Return to work management 5 * * 3 Screening คัดกรองความเสี่ยงด้านต่างๆ ด้านโรคจากการประกอบอาชีพ ด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ด้านโรคติดต่อ ด้านพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ด้านสุขภาพช่องปาก ด้านสุขภาพจิต ฯลฯ Summary and Planning สรุปข้อมูล และ วางแผนการดูแล สุขภาพที่จำเพาะแต่ละบุคคล 4 * ก.สาธารณสุข สนับสนุนให้ข้อมูล ระบบ Smart Detect : ระบบเฝ้าระวังสุขภาพด้านโรคจากการ ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
“ศูนย์สุขภาพดีคนทำงานของหน่วยบริการสุขภาพ” Hospital’s Wellness Center คือ หน่วยงานหลักสำคัญของหน่วยบริการสุขภาพ (เช่น รพศ./รพท. รพช.) ในการจัดการดูแลสุขภาพของคนทำงาน ที่ครอบคลุมความเสี่ยงทุกมิติ ตามแนวคิดการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Total worker health) เพื่อให้คนทำงานมีสุขภาวะที่ดี (Well being)
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นหน่วยงานให้บริการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (Total worker health) สำหรับกลุ่มคนทำงานอย่างบูรณาการ อันจะนำไปสู่การมีสุขภาวที่ดี (Well being) ของคนทำงาน เพื่อสร้างความเชื่อมโยงการดำเนินงาน ระหว่าง หน่วยบริการสุขภาพ กับ สถานประกอบการ โดยเฉพาะการคัดกรองความเสี่ยง และการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค เพื่อเป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัดการดูแลสุขภาพสำหรับคนทำงาน ระหว่างเครือข่ายหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่
“กลุ่มเป้าหมาย” กลุ่มคนทำงานทุกสาขาอาชีพในสถานประกอบการ/สถานที่ทำงาน (รวมถึงกลุ่มบุคลากรของโรงพยาบาล) ที่ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงและจำแนกว่าเป็นกลุ่มปกติ หรือ เป็นกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง หรือ เป็นกลุ่มเสี่ยงจากโรค/ปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุมาจากการทำงาน หรือโรค/ปัญหาสุขภาพทั่วไป
Timeline กิจกรรม ส่งรายชื่อ หน่วยบริการ สธ ที่เข้าร่วม wellness center ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4 ส่งรายชื่อ หน่วยบริการ สธ ที่เข้าร่วม wellness center สนับสนุน นิเทศ ติดตาม หน่วยบริการ สธ ที่เข้าร่วม wellness center สนับสนุน นิเทศ ติดตาม รพ. เป้าหมายที่ดำเนินการตามแนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ประเมินรับรองผล wellness center /จัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม/โครงการสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ
พื้นที่เป้าหมายในการดำเนินการปี 2562 แผนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล เป้าหมายระดับเขต ร้อยละ 50 ของ รพช.ที่ผ่านการรับรองการประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน 1-4 สามารถยกระดับได้อย่างน้อย 1 ระดับ เป้าหมายระดับจังหวัด 1. ร้อยละ 50 ของ รพช.ที่ผ่านการรับรองการประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน 1-4 สามารถยกระดับได้อย่างน้อย 1 ระดับ
Timeline กิจกรรม ส่งรายชื่อ รพช .เข้าร่วมการรับการประเมินยกระดับ RAH ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส4 ส่งรายชื่อ รพช .เข้าร่วมการรับการประเมินยกระดับ RAH สนับสนุน/นิเทศ รพช .เข้าร่วมการรับการประเมินยกระดับ RAH ประเมินตนเอง และขอรับการประเมิน รพช .เข้าร่วมการรับการประเมินยกระดับ RAH ประเมินตนเอง และขอรับการประเมิน ประเมินรับรองรพช .เข้าร่วมการรับการประเมินยกระดับ RAH ประเมินตนเอง และขอรับการประเมิน จากระดับ 4 เป็นระดับ 5