สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รายงานผลการดำเนินงาน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
ข้อมูลสถานะสุขภาพ อำเภอสำโรง คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอสำโรง.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 นายแพทย์ปิติ ทั้งไพศาล นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด 18 ตุลาคม 2559

1 2 3 4 5 กรอบนำเสนอ ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ การแปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ 4 กลไกการขับเคลื่อน 5 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

เขตการปกครอง 20 อำเภอ 192 ตำบล 2,444 หมู่บ้าน 1 อบจ. 1 เทศบาลเมือง ข้อมูลทั่วไป เขตการปกครอง 20 อำเภอ 192 ตำบล 2,444 หมู่บ้าน 1 อบจ. 1 เทศบาลเมือง 72 เทศบาลตำบล 129 อบต. สำนักงานปกครองจังหวัดร้อยเอ็ด   ณ 9 กันยายน 2559

หน่วยบริการสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด M2 F1 F2 F3 1 แห่ง 763 เตียง 1 แห่ง 4 แห่ง 11 แห่ง 3 แห่ง 3 / 227 แห่ง ศสม./รพ.สต. A รพ.ร้อยเอ็ด รพ.โพนทอง รพ.เสลภูมิ รพ.สุวรรณภูมิ รพ.เกษตรวิสัย M 2 ภาพรวมจังหวัด 1,713 เตียง สัดส่วน ต่อ ปชก. 763.60 F 1 F 1 รพ.พนมไพร F 2 รพ.ขนาด 30 เตียง รพ.ทุ่งเขาหลวง (เปิดบริการผู้ป่วยใน มิ.ย.59) รพ.หนองฮี รพ.เชียงขวัญ (ยังไม่มีแผนกผู้ป่วยใน) F 3 ศสม. – ศูนย์ กกต. ,นิเวศน์ ,ดงหวาย รพ.สต. 227 แห่ง หมายเหตุ 1.รพ.ภาครัฐสังกัดกระทรวงกลาโหม 1 แห่ง (30 เตียง) 2.รพ.เอกชน 2 แห่ง (200 เตียง)

กลุ่มเครือข่ายบริการตามพื้นที่ ( Zonal ) และการพัฒนาสมรรถนะขีดความสามารถ และระบบส่งต่อ แม่ข่ายโพนทอง 4 อำเภอ ประชากร 255,866 คน แม่ข่ายเมืองร้อยเอ็ด 4 อำเภอ ประชากร 267,077 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,040 เตียง ต่อ ปชก. 1 : 321 แม่ข่ายเสลภูมิ 4 อำเภอ ประชากร 287,719 คน ภาพรวมจังหวัด เตียง ต่อ ปชก. 1 : 763 เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,530 แม่ข่ายสุวรรณภูมิ 4 อำเภอ ประชากร 241,904 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,156 แม่ข่ายเกษตรวิสัย 4 อำเภอ ประชากร 255,480 คน เตียง ต่อ ปชก. 1 : 1,070

อัตรา:ประชากร (ร้อยเอ็ด) บุคลากรสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด บุคลากรสาธารณสุข (สังกัด รพ.) จำนวน อัตรา:ประชากร (ร้อยเอ็ด) (คน) แพทย์ 243 1 : 5,382 ทันตแพทย์ 83 1 : 15,759 เภสัชกร 140 1 : 9,343 พยาบาลวิชาชีพ 1,676 1 : 780 พยาบาลวิชาชีพใน รพ.สต. 340 คน (ครบทุกแห่ง) บุคลากรทุกวิชาชีพ -สังกัดโรงพยาบาลทุกแห่ง 5,045 คน -สังกัด สสจ. 154 คน -สังกัด สสอ.และ รพ.สต. 996 คน

สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ 2 สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่สำคัญ จังหวัดร้อยเอ็ด สถานะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ คนร้อยเอ็ด

ประชากรจังหวัดร้อยเอ็ด วัยสูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) 14.68% วัยทำงาน (15–59ปี) 68.89 % วัยรุ่น (15–21ปี) 10.02 % วัยเรียน (5–14ปี) 11.25 % เด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) 6.22 % ประชากรกลางปี จำนวน ร้อยละ ชาย 651,893 49.84 หญิง 656,153 50.16 รวม 1,308,046 100 ที่มา: จากสำนักทะเบียนราษฎร์ผ่านสำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ประมวลผล : 30 มิถุนายน 2559

อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม จ.ร้อยเอ็ด ปี 2553-2558 อัตรา ต่อ 1,000 ที่มา : ประชากร จำนวนการเกิด การตาย จาก สำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง (www.dopa.go.th) ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2559

อัตราตายของประชากร จำแนกตามสาเหตุการตาย 10 อันดับ จังหวัดร้อยเอ็ด ของปีงบประมาณ 2553-2558 มะเร็งทุกชนิด ความดันเลือดสูง และหลอดเลือดในสมอง อุบัติเหตุ ไตอักเสบ ที่มา : ข้อมูลการตาย จากระบบทะเบียนการตาย ของ สนย. ปี 2553 – 2558 ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2559

อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ. ศ อัตราตายด้วยโรคมะเร็ง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ. 2554 – 2558 (ต่อแสนประชากร) มะเร็งรวมทุกชนิด มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ที่มา : สำนักโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข

อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ. ศ อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดร้อยเอ็ด ปี พ.ศ.2554 – 2558 (ต่อแสนประชากร) หัวใจและหลอดเลือด หลอดเลือดสมอง เบาหวาน หัวใจขาดเลือด ความดันโลหิตสูง ที่มา : สำนักโรคไม่ติดต่อ กระทรวงสาธารณสุข

3 การแปลงนโยบายสู่แผนปฏิบัติ

วิสัยทัศน์ “ประชาชนชาวร้อยเอ็ดมีสุขภาพดี ด้วยวิถีแห่งความพอเพียง” จุดยืนทางยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2560-2564  วิสัยทัศน์ “ประชาชนชาวร้อยเอ็ดมีสุขภาพดี ด้วยวิถีแห่งความพอเพียง” เป้าหมาย : 1.อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2.อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ความเชื่อม โยง ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ ดำเนิน การ โดยทีมหมอครอบ ครัว SI 1. พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย SI 2 . พัฒนาระบบเฝ้าระวังและจัดการลดโรคและภัยทางสุขภาพ SI 3. พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน SI 4. พัฒนาการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายในการจัดการระบบสุขภาพชุมชน G1 : ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดีตามเกณฑ์ G2 : โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนได้รับการจัดการ ให้ลดลงอย่างมีประสิทธิภาพทุกพื้นที่ G3 : เครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับมีคุณภาพมาตรฐาน G4 : ระบบสุขภาพชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีวัฒนธรรม และความเป็นเจ้าของทางสุขภาพ SI .5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ G5 : ระบบบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขมีความเป็นเลิศ ทันสมัย บุคลากรสาธารณสุขทั้งระบบมีสมรรถนะสูง มีความสุข มีวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมที่เข้มแข็ง

4 กลไกการขับเคลื่อน งานเน้นหนักเชิงนโยบายระดับจังหวัด ปี 2559 การแก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน 3. การพัฒนาการเด็ก งานเน้นหนักเชิงนโยบายระดับจังหวัด ปี 2560 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 2.การคัดกรองมะเร็ง 3.การควบคุม กำกับงานโดยระบบข้อมูล

5 ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

Service Plan Cancer roiet Early Diagnosis การคัดกรองมะเร็งตับ และมะเร็งท่อทางเดินน้ำดี ด้วย ULTRASOUND ปี 2559 ระดับ เป้าหมาย ตรวจ US ประเทศ 135,000 168,500 124.81% เขต 7 20,000 34,682 (173.41%) จังหวัดร้อยเอ็ด 5,000 17,089 (341.78%) คัดกรองUS ร้อยเอ็ดมากที่สุดของประเทศ ตรวจโดย nurse sonographer และ รังสีแพทย์ ทุกอำเภอ Treatment ผลงานการผ่าตัด CCA อำเภอโพนทอง ข้อมูลจาก ISAN COHORT 1ตค58-30กย59 ข้อมูลจาก ISAN COHORT 1ตค58-30กย59 อำเภอสุวรรณภูมิ

จังหวัด จำนวน Ultrasound มีความผิดปกติ สงสัย CCA ร้อยเอ็ด 17,089 5,917 92 (0.5 %) ขอนแก่น 6,890 2,813 119 (1.7%) กาฬสินธุ์ 6,698 1,561 246 (3.7%) มหาสารคาม 4,005 1,952 44 (1.1%) รวม 34,682 12,243 501 (1.4%) ที่มา : ข้อมูลจาก ISAN COHORT ข้อมูล ณ วันที่ 16 ต.ค. 2559

โครงการความร่วมมือกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ พัฒนาศูนย์มะเร็ง โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ศูนย์มะเร็งเฉลิมพระเกียรติจุฬาภรณ์ร้อยเอ็ด ลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) 22 ธันวาคม 2552 แผนเปิดบริการ รังสีรักษาร้อยเอ็ด – กลางปี 2560 ความร่วมมือ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในโครงการความร่วมมือการพัฒนาระบบการป้องกันและควบคุมมะเร็ง ชั้น1 รังสีวิทยา/รังสีรักษา/ร่วมรักษา/เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ชั้น2 OPD 10ห้อง - Unit Scope 6 เตียง - LAB บริการ ชั้น3 OR 3 ห้อง / ICU -13 เตียง / ห้อง Tele conference ชั้น4 Day care 30 เตียง –หน่วยเตรียมยา-ห้องตัดชิ้นเนื้อ ชั้น5 IPD เคมีบำบัด หญิง-ชาย 56 เตียง ชั้น6 IPD มะเร็งสามัญ หญิง-ชาย 56 เตียง ชั้น7 พิเศษ 16 ห้อง ชั้น8 พิเศษ 16 ห้อง ชั้น9 Lab วิจัย / Patho/ ศูนย์วิจัยมะเร็ง / DMU ชั้น10 ห้องประชุม โครงการความร่วมมือกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 1 โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ 2 Surveillance and Treatment Programs for HBsAg -Positive 3 โครงการTiger LC กับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ 4 โครงการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 โครงการศึกษาวิจัยปัญหาสุขภาพระยะยาวฐานประชากรจังหวัดร้อยเอ็ด LINAC *CT SIM งบประมาณ ปี2560 MRI CT

ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง Palliative care ภาคีเครือข่าย ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อบจ. อบต. เทศบาล โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ สนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ์ ประสานความร่วมมือ สนับสนุนวิชาการ / รับ-ส่งต่อผู้ป่วย สสจ. วัด/พระองค์กรศาสนา กำกับติดตามดูแล ประสานงานเครือข่าย จิตอาสา ผู้นำทางด้านศาสนา OPD/IPD อสม. PCWN ประเมินผู้ป่วย และส่งปรึกษา ช่วยดูแล ค้นหา ผู้ป่วยในชุมชน องค์กรการกุศล โรงพยาบาลชุมชน รพ.สต Family Care Team สนับสนุนงบ และอุปกรณ์ ติดตามเยี่ยมบ้าน กับสหวิชาชีพ ติดตามเยี่ยมบ้าน กับสหวิชาชีพ มีความร่วมมือ ทางวิชาการ กับแพทย์ จากสิงคโปร์ เป็นสถานฝึกอบรมภาคปฏิบัติ Palliative care nurse ติดตามเยี่ยมบ้านและบริหารยา-อุปกรณ์ร่วมกันในเครือข่ายเขตสุขภาพที่7 ใช้การสื่อสารแบบ LINE กลุ่ม ผู้ป่วยได้รับบริการทั่วถึงและรวดเร็ว มีการจัดเก็บรายงานทั้งเขตโดโปรแกรม Thai palliative care

พัฒนาศักยภาพบุคลากร เขตสุขภาพที่ 7 เขตสุขภาพที่ 7 กระทรวงสาธารณสุข จัดประชุมนานาชาติ 3-5 สิงหาคม 2559 “การควบคุมโรคมะเร็ง เพื่อความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ทุกนโยบายใส่ใจโรคมะเร็ง” พัฒนาศักยภาพบุคลากร เขตสุขภาพที่ 7 มีความร่วมมือทางวิชาการกับ Khoo teck puat hospital The International Agency for Research on Cancer (IARC) ,WHO มีการศึกษาวิจัยมะเร็งลำไส้ มะเร็งตับในผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบี ร่วมกับ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์และศูนย์วิจัยความเป็นธรรมทางสุขภาพ MOU ความร่วมมือกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ 29 เมษายน 2559 อบรมการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็ง ที่ได้รับยาเคมีบำบัด 38 คน Nurse sonographer 3 รุ่น รวม 29 คน ร่วมกับสถาบันมะเร็ง แห่งชาติ ร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาภรณ์

แผนพัฒนามะเร็งเต้านม แผนพัฒนาปี 2560 แผนงาน กิจกรรม เป้าหมาย ด้านมะเร็งตับ และท่อน้ำดี primary prevention OV CCA - อบรมNurse sonographer - มีคลินิก US Nurse sonographer เปิดบริการห้องผ่าตัดศูนย์มะเร็ง เตรียมเปิดคลินิกคัดกรองความเสี่ยง มะเร็ง - 6 ตำบล 6 อำเภอ ตามเป้าหมายร่วมกับโครงการ พระราชกุศลฯ - พยาบาลNurse sonographer ครอบคลุมทุกอำเภอ - เพิ่มการเข้าถึงการคัดกรอง us - ลดระยะเวลารอคอยการผ่าตัด - คัดกรองกลุ่มเสี่ยง เข้าสู่การตรวจวินิจฉัย รักษา ในระยะต้นๆ ด้านรังสีรักษา - เตรียมเปิดบริการรังสีรักษา - ลดการส่งต่อออกนอกเขตบริการ (refer out นอกเขต) - รับการส่งต่อจากจังหวัดมหาสารคาม กาฬสินธุ์ - รับการส่งต่อจากเขตใกล้เคียง จังหวัดยโสธร ฯลฯ ด้านเคมีบำบัด พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล M2 โรงพยาบาลโพนทอง ในการให้ยาเคมี บำบัด โดย delivery service จัดอบรมพยาบาลให้ยาเคมีบำบัด หลักสูตร10วัน ร่วมกับสถาบันมะเร็ง ลดระยะเวลารอคอยการให้ยาเคมีบำบัด เข้าถึงบริการใกล้บ้าน ใกล้ใจ ลดการส่งต่อ refer in ในจังหวัด พยาบาล 40 คน เพื่อเตรียมความพร้อมเปิดบริการศูนย์ มะเร็งและพัฒนาศักยภาพบุคลากร ใน M1- M2 เขตสุขภาพที่ 7 แผนพัฒนามะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ คัดกรองมะเล็งลำไส้ Colonoscope คัดกรองมะเร็งเต้านม BSC คุณภาพ เตรียมเปิดUnit scope ศูนย์มะเร็ง ค้นหาผู้ป่วยมะเร็งในระยะต้น เพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรอง palliative care - พัฒนาศักยภาพบุคลากร แผนจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ - มีการใช้ Opioid ในการจัดการอาการ ≥80% - มีอุปกรณ์เครื่องมือให้บริการที่เพียงพอ

HEALTHY PUBLIC POLICIES CANCER CONTROL IN ALL POLICIES PUBLIC HEALTH POLICIES HEALTHY PUBLIC POLICIES ขอบคุณ Roi Et Provincial Public Health Office