คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Advertisements

CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
ITA การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
ตำบลจัดการสุขภาพ.
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
ตรวจราชการ รอบ 2 จังหวัดนครนายก วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
KPI กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจำนวน 3 แห่ง
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
EB10 (2) มีผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การควบคุม (Controlling)
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
เส้นทางการพัฒนาคุณภาพ HA
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พระธาตุนาดูนศูนย์รวมจิตใจ น้ำดูนใสศักดิ์สิทธิ์ วิจิตรสวนวลัยรุกขเวช
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้ อยู่ระหว่างดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7 ร้อยแก่นสารสินธุ์ คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ ตรวจราชการรอบที่ 1 จังหวัดมหาสารคาม ระหว่างวันที่ 12-14 กุมภาพันธ์ 2561 นายแพทย์พิทักษ์พงศ์ พายุหะ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหนองพอก

การประเมินผลตัวชี้วัด ลำดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ผลการประเมิน 1. ร้อยละหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้  ≥ 60% 97.52 % ผ่านเกณฑ์ 2. อัตราคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข ≥ 85% 99.27% 3. หน่วยงานในสังกัดผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA ระดับ3 3 เดือน 4. การจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ≥ 20% 50.65% 5. ระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด -ประเมิน เชิงคุณภาพ - 6. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สสจ. ,สสอ. ผ่านเกณฑ์ 4ข้อ 100% ผ่านเกณฑ์ 3 เดือน 7. คุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 รพศ./รพท./กรม รพช. (ไม่รวม F3) =100% ≥ 80% 8. รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว ≥ 25% 26.86% 9. หน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 < 6% 0%

โครงการเปลี่ยนพุงให้เป็นเงินพื้นที่ CUP วาปีปทุม 3.1 ร้อยละของหน่วยงานที่มีการนำดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinometer) ไปใช้ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) สูงสุด 76.95 มหาสารคาม : MHSK Model มิติต่ำสุด 44.95 ความสุขเฉลี่ยรวม 64.65 การดำเนินงาน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ชี้แจงแนวทางการวัดดัชนีความสุขของคนทำงานและการนำดัชนีความสุขของคนทำงานไปใช้ มีการสำรวจข้อมูล มีการวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอผลต่อผู้บริหาร (รอบ 6 เดือน) ผลงาน (แห่ง) 197 202 ร้อยละ 97.52 100 ผลงานเด่น : การดำเนินงานสร้างสุขแบบเชื่อมโยงทั้ง คปสอ. เช่น โครงการ OD CUP โครงการเปลี่ยนพุงให้เป็นเงินพื้นที่ CUP วาปีปทุม Key Success : นโยบายผู้บริหาร และการสื่อสารที่ชัดเจนและการมีส่วนร่วมของเครือข่าย

ข้อเสนอแนะ การสนับสนุนการแก้ปัญหาความสุข ควรมีโปรแกรมแก้ปัญหาความสุขต้นแบบจากส่วนกลาง เช่นเดียวกับ โครงการ Happy Money Program เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดความสุขในทุกมิติ การขับเคลื่อนนโยบายองค์กรแห่งความสุขสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหารควรเป็นต้นแบบ และมีการถ่ายทอดนโยบายองค์กรแห่งความสุขอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเวทีการประชุม กวป. เพื่อผลักดันให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจัง

3.2 : อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

3.2 : อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข (Retention rate) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

ผ่านเกณฑ์ประเมินITA ระดับ 3(5) เกณฑ์รอบ 1 หน่วยงานผ่านเกณฑ์ฯ ระดับ3(5) (EB4-EB6) มหาสารคาม เป้าหมาย ผ่านเกณฑ์ประเมินITA ระดับ 3(5) สสจ.และสสอ. 14 13 รพ. 11 ทั้งหมด 27 24 ร้อยละ 85.19 ปัญหาและอุปสรรค 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหน่วยรับตรวจขาดความรู้ความเข้าใจต่อ ระเบียบแนวทางปฏิบัติงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ข้อเสนอแนะ พัฒนาความรู้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หน่วยงานเป้าหมายควรมีมาตรการ /แนวทางการควบคุมกำกับและติดตาม คณะกรรมการตรวจประเมินหลักฐานเชิงประจักษ์ระดับจังหวัดควรให้คำปรึกษาเพิ่ม มากขึ้นในการเตรียมหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อให้ตรงประเด็นการตอบคำถาม

ข้อมูลสถานการณ์/สภาพปัญหา 3.4 : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุทันตกรรม (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) ข้อมูลสถานการณ์/สภาพปัญหา 1. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์รับผิดชอบ 2. กำหนดราคาอ้างอิงทั้งระดับเขต/จังหวัด 3. จัดทำกรอบบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาทั้งระดับโรงพยาบาล และ รพ.สต. 4. ดำเนินการจัดซื้อร่วม ไตรมาส 1/61 เท่ากับร้อยละ 50.65 ผ่านเกณฑ์

3.4 : ร้อยละการจัดซื้อร่วมของยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุทันตกรรม (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20) ปัญหา/อุปสรรคที่พบ 1. การจัดซื้อร่วมวัสดุทันตแพทย์ จัดซื้อต่ำกว่าร้อยละ 20 จำนวน 3 แห่งได้แก่ รพ.เชียงยืน นาเชือก และ พยัคฆภูมิพิสัย 2. คณะกรรมการจัดทำกรอบรายการจัดซื้อร่วมทำงานล่าช้า เนื่องจากภาระงานมาก และขั้นตอนการดำเนินการซับซ้อน ทำให้ไม่สามารถประกาศ 3. องค์การเภสัชกรรมจัดหายาไม่เพียงพอ 4. ผู้ปฏิบัติงานยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตาม พรบ.จัดซื้อจัดจ้างและ บริหารพัสดุ พ.ศ.2560 ข้อเสนอแนะ 1. ติดตามการดำเนินการจัดซื้อร่วมวัสดุทันตแพทย์ทั้ง 3 แห่ง 2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ ตามพรบ.จัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุ พ.ศ.2560

ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 3.5 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสี่ยงระดับจังหวัด ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ดำเนินการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามแผนการตรวจสอบประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 รายงานผลการตรวจสอบภายใน มีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลเชิงผลผลิต ผลลัพธ์ ข้อเสนอแนะตามรายงานการตรวจสอบภายในได้รับการแก้ไขทุกประเด็น ประเด็นการ ตรวจราชการ ที่มุ่งเน้น หน่วยงานที่รับผิดชอบ : กลุ่มตรวจสอบภายใน ระดับกรม สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

หน่วยรับตรวจ สสจ. รพท. มหาสารคาม รพช. นาเชือก เป้าหมาย สสจ. 1 แห่ง รพท. 1 แห่ง รพช. 1 แห่ง (สุ่ม)

3.5 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสี่ยงระดับจังหวัด ระดับความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน สรุปผลการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ความเสี่ยงที่สำคัญ) 1. ด้านการเงินและบัญชี - มีการจัดทำสัญญาเงินยืมเพียงฉบับเดียวและมีการค้างชำระเกินกำหนดโดยไม่มีการทวงถาม เร่งรัด ติดตาม เป็นลายลักษณ์อักษร - ไม่มีระบบและความรัดกุมเรื่องใบเสร็จรับเงิน สำเนาใบเสร็จรับเงินไม่มีการสลักหลัง ไม่ได้สรุปยอดจำนวนเงินและไม่ลงลายมือชื่อผู้รับ-ส่งเงิน และข้อความในใบเสร็จรับเงินไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ - ทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินไม่มีความรัดกุมเพียงพอ และลงรายการที่สำคัญไม่ละเอียด - ไม่มีการตัดยอดลูกหนี้รายตัว ทำให้ไม่ทราบลูกหนี้ที่แท้จริง ระดับ 1 ปี 60 สุ่มตรวจสอบสรุปผลการตรวจสอบภายใน รพ.คำชะอี พบประเด็นความเสี่ยงสำคัญ ในด้านการเงินและบัญชี คือ บันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน งบทดลองไม่ถูกต้อง ทะเบียนคุมไม่ครบถ้วน ลูกหนี้เงินยืมค้างนาน และปัจจุบันได้มีการแก้ไขข้อทักท้วงแล้ว ระดับ 2 ปี 61 สสจ.ได้จัดทำแผนการตรวจสอบภายใน ครอบคลุมทุกระดับ ตั้งแต่ รพท., รพช., สสอ., รพ.สต. ตามที่ สป.กำหนด

3.5 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสี่ยงระดับจังหวัด ระดับความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน สรุปผลการตรวจสอบภายในประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ความเสี่ยงที่สำคัญ) (ต่อ) - การติดตามข้อทักท้วง - การตรวจสอบพัสดุประจำปีแต่งตั้งคณะกรรมการล่าช้า ยังไม่ครอบคลุมทุกรายการและไม่ส่งรายงานผลการตรวจสอบไปยังสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน - คณะกรรมการตรวจสอบภายในภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดมี การรายงานผลการแก้ไขข้อทักท้วงเสนอนายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดแต่ยังไม่ครอบคลุมทุกแห่ง

3.5 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสี่ยงระดับจังหวัด ระดับความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน 2. การจัดทำแผนการตรวจสอบภายใน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ดำเนินการจัดทำแผนการตรวจสอบภายใน 4 ระดับ (โดยภาคีเครือข่ายระดับอำเภอร่วมตรวจสอบระดับรพ.สต. ที่ภาคีเครือข่ายระดับจังหวัดไม่ได้เข้าตรวจสอบ) แผนการตรวจสอบกำลังปรับแผนให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ตามที่สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขกำหนด 3. การประเมินระบบการควบคุม ภายใน 5 มิติ - ทุกหน่วยรับตรวจมีการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน 5 มิติ เป็นไปตามผลการประเมิน - หน่วยรับตรวจส่วนใหญ่ พบจุดอ่อนมิติด้านงบการเงิน - หน่วยรับตรวจดำเนินการส่งแผนพัฒนาองค์กรให้กลุ่มตรวจสอบ ภายใน สป.สธ แล้ว จำนวน 3 หน่วยรับตรวจที่ต่ำกว่าร้อยละ 80

3.5 ระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ ระดับความสำเร็จของหน่วยงานสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหาร ความเสี่ยงระดับจังหวัด ระดับความสำเร็จ ผลสำเร็จ 4. มาตรการแก้ไขปัญหา หนี้ค่าสาธารณูปโภค ค้างชำระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 พบหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระ 19,262.22 บาท สสอ.จำนวน 6 แห่ง รพ.สต. 2 แห่ง กำลังดำเนินติดตามที่ยังไม่รายงาน 5. ระบบการตรวจสอบ ภายในภาพรวมของ จังหวัด - สามารถขับเคลื่อนระบบการตรวจสอบภายในและควบคุมภายในได้ อย่างต่อเนื่อง - ข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบภายใน ได้รับการแก้ไขอย่างเป็น รูปธรรม ระดับ 3 นิเทศ รอบ 1 เป็นการประเมินระบบควบคุมภายใน 5 มิติ ของปี 2560 สอบทานผลการประเมินที่ส่งรายงานให้ สป. พบว่า ทั้ง 5 มิติ เป็นไปตามผลการประเมิน และทุกหน่วยรับตรวจพบจุดอ่อนมิติด้านงบการเงิน ต่ำกว่า 80% และได้จัดทำแผนพัฒนาองค์กรส่งแล้ว ระดับ 4 ติดตามรายงานการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าสาธารณูปโภคค้างชำระของส่วนราชการตามนโยบาย ระดับ 5 ติดตามการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัด

เป้าหมาย เกณฑ์ ผลลัพธ์ 3.6 ตัวชี้วัดที่ 63.1 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สสจ.ผ่าน PMQA ระดับ 5 ตัวชี้วัดที่ 63.2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สสอ.ผ่าน PMQA ระดับ 5 สถานการณ์ สสจ.มหาสารคาม มีการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ มาตั้งแต่ปี 2551 เป้าหมาย สสจ.ร้อยละ 60 สสอ.ร้อยละ 20 เกณฑ์ 1.จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน 2.ประเมินองค์กรด้วยตนเองเทียบกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ. 2558 ภาคบังคับ 2 หมวด (หมวด 1,5) 3.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรของหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (หมวดละ 1 แผน) 4.จัดทำตัวชี้วัดที่สะท้อนผลลัพธ์ในหมวดที่ดำเนินการได้ครบถ้วน (ตามเกณฑ์หมวด 7) ผลลัพธ์ ไตรมาส 1 ดำเนินการตามเกณฑ์ 4 ข้อ -สสจ. 1 แห่ง ร้อยละ 100 -สสอ. 13 แห่ง ร้อยละ 100 ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success) - ผู้บริหารให้ความสำคัญ การถ่ายทอดนโยบายชัดเจน - มีทีมพี่เลี้ยง (Dream team) ให้คำแนะนำ เรียนรู้ และพัฒนาร่วมกันกับสาธารณสุขอำเภอ - มีการบูรณาการทำงานร่วมกับการสร้างสุขในองค์กร เน้นการสร้างความผูกพันในองค์กร บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการเข้าร่วม กิจกรรม - ใช้กระบวนการนิเทศงานให้ทุกอำเภอมุ่งเน้นการควบคุมกำกับการผ่านการประชุมประจำเดือน และการดำเนินงานองค์กรสร้างสุข องค์กร ข้อเสนอแนะ - ควรเพิ่มกระบวนการเรียนรู้ให้กับบุคลากรซึ่งเป็นพื้นฐานการเรียนรู้แห่งองค์กร - จัดสรรงบประมาณในกิจกรรมการการดำเนินงาน

ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA) กําลังเข้าสู่กระบวนการพัฒนา 3.7 ตัวชี้วัดที่ 64.1 : ร้อยละของรพศ./รพท./รพ.สังกัดกรมการแพทย์/กรมควบคุมโรค/กรมสุขภาพจิต มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 ตัวชี้วัดที่ 64.2 : ร้อยละของรพช. มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 สถานการณ์ กลุ่ม สถานพยาบาล ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA) ร้อยละ 1 รพท. จํานวน 1 แห่ง 100 % 2 รพช. จํานวน 10 แห่ง 10 3 รพ.ขนาด F3 จํานวน 2 แห่ง กําลังเข้าสู่กระบวนการพัฒนา เป้าหมาย ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดที่ 64.1 : ร้อยละ 100 รพท. 1 แห่ง : รพ.มหาสารคาม 100 % ตัวชี้วัดที่ 64.2 : ≥ร้อยละ 80 รพช. 10 แห่ง : 100 % ผ่านการรับรอง 10 แห่ง ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success) ผู้บริหารให้ความสำคัญในการพัฒนาและกำหนดเป็นตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ของจังหวัด มีคณะกรรมการเครือข่ายพี่เลี้ยง QLN ที่ครอบคลุมทุกสหวิชาชีพขับเคลื่อนคุณภาพระดับจังหวัด 3. มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA ที่ต่อเนื่อง 4. มีการนิเทศ/ติดตามรายงานระดับความสำเร็จการดำเนินงานขับเคลื่อนตัวชี้วัดระดับจังหวัด ระดับอำเภอ รายเดือนและ รายไตรมาส Best Practice การสร้างเครือข่ายในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ด้วยเครือข่ายเพื่อนช่วยเพื่อน (Quality Learning Network)

3.8 : ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว สถานการณ์ เป้าหมาย ปี 2560 เป้าหมาย ร้อยละ 25 ผ่านเกณฑ์ 47 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 26.86 ปี 2561 เป้าหมายร้อยละ 37.5 ของ รพ.สต.ที่เหลือ 128 แห่ง (จำนวน 48 แห่ง) 1. ระดับ 5 สนับสนุน รพ.สต. ผ่านการรับรองดาว ร้อยละ 50 (สะสม) 2. ไตรมาส 1 รพ.สต. ส่งแบบประเมินตนเอง 128 แห่ง สิ่งที่พบ มีข้อมูลสถานการณ์แยกเป็นรายอำเภอ และมีการวิเคราะห์เชิงระบบ (Structure Information Intervention and Innovation Integration Monitoring and Evaluation) ในส่วนของการลงพื้นที่ พบว่ามีความร่วมมือบูรณาการทุกภาคส่วน ทำให้การทำงานคล่องตัว ซึ่งจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้บุคลากรมีความสุขในการทำงาน และพบจุดเด่นในส่วนของการดำเนิน ด้านผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพของชุมชม โดย อสม. มาตรการ/แนวทาง (จ.ดำเนินการ) เข้าร่วมประชุมทีมพี่เลี้ยง ระดับเขต มอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อน PA โดย นพ.สสจ. จัดตั้งทีมพี่เลี้ยง รพ.สต.ติดดาว และประชุมทีมพี่เลี้ยง รพ.สต. ทุกระดับ กำหนดเป็นตัวชี้วัด และกำหนดผู้ช่วย สสอ. เป็นผู้รับผิดชอบ กำหนดเป้าหมายเปิด PCC ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๓ เป็นเป้าหมายพัฒนารพ.สต.ติดดาว ปี ๒๕๖๑ กำหนด Time line การดำเนินงาน อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาส ปัญหา/อุปสรรค พื้นที่มีความเห็นในประเด็นเกณฑ์การประเมิน Green and clean บางข้อ ทำได้ยาก ที่จะผ่านตามเกณฑ์ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับโครงสร้างของ รพ.สต. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาส สร้างกลไกขับเคลื่อนที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิ กับ นโยบาย PCC & รพ.สต.ติดดาว สรุปบทเรียนผลดําเนินงานพัฒนา/แก้ไขปัญหาสําคัญ ตามบริบทในแต่ละพื้นที่ พัฒนาระบบกํากับติดตาม ประเมินผล และเยี่ยมเสริมพลังให้มีระสิทธิภาพ

ไม่มีหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติ ระดับ 7 ปัจจัยความสำเร็จ 3.9 : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 6) จังหวัดมหาสารคาม ไตรมาส 1 ปีงบประมาณ 2561 ไม่มีหน่วยบริการประสบภาวะวิกฤติ ระดับ 7 ปัจจัยความสำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความสำคัญ 2. กระบวนการพัฒนาระบบการเฝ้า ระวังการเงินการคลังอย่างมีส่วนร่วม ของโรงพยาบาลและเครือข่ายบริการ Best Practice 1. การกำกับ ติดตาม การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง 2. พัฒนาการจัดเก็บรายได้โดยโปรแกรมบริหารลูกหนี้

ข้อมูลวิเคราะห์วิกฤติทางการเงินระดับ 7 ไตรมาส 1/2561 จังหวัดมหาสารคาม เขตสุภาพที่ 7

ผลการประเมินตามประเด็นตรวจราชการการบริหารการเงินการคลัง รอบ 1/2561 จังหวัด มหาสารคาม เขตสุภาพที่ 7

1. หน่วยบริการบางแห่งมีข้อจำกัดด้านการขยายการให้บริการที่เพิ่มขึ้น 3.9 : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 6) ปัญหาอุปสรรค 1. หน่วยบริการบางแห่งมีข้อจำกัดด้านการขยายการให้บริการที่เพิ่มขึ้น . 2. บางแห่งมีข้อจำกัดด้านประชากรที่มีจำนวนน้อยกว่า 25,000 คน 3. การรับภาระเงินเดือนบุคลากรค่อนข้างมาก

“ขอบคุณครับ”