องค์ประกอบสำคัญของแผนจัดการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) 1.1 ความรู้(knowledge) 1.2 ทักษะกระบวนการ(process)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลักการเขียนเกณฑ์การประเมิน(Rubrics)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
Performance Skills By Sompong Punturat.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบสำคัญของแผนจัดการเรียนรู้ 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (Objectives) 1.1 ความรู้(knowledge) 1.2 ทักษะกระบวนการ(process) 1.3 คุณลักษณะและเจตคติ(attribute and attitude) 2. ประสบการเรียนรู้ (Learning experiences) 2.1 เนื้อหาสาระ (Content) 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning activity) 3. การประเมินผลการเรียนรู้ (Assessment)

จุดประสงค์การเรียนรู้ knowledge attribute and attitude process จุดประสงค์การเรียนรู้ ประสบการเรียนรู้ การประเมินผล evaluation OLE เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ (authentic assessment)

กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดเนื้อหา/สาระ/ สาระการเรียนรู้ รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เลือก แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กำหนดยุทธศาสตร์การสอน (ใช้ทฤษฎี/แนวคิด/หลักการสอน) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ (Active Learning) เทคนิคการจัดกิจกรรม กำหนดการประเมินผลการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้/องค์ความรู้ 1. ข้อเท็จจริง (Fact) 2. คำนิยาม (Definition) 3. ความคิดสำคัญ (Main idea) 4. หลักการ (Principle) 5. กฎ (Law) 6. ทฤษฎี (Theory)

Bloom’s Taxonomy Cognitive Domain สร้างสรรค์ ประเมินค่า วิเคราะห์ Higher Order Thinking Cognitive Domain สร้างสรรค์ ประเมินค่า วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ จำ การประเมินค่า ก สังเคราะห์ Lower Order Thinking การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้ Old Version New Version Bloom’s Taxonomy

พฤติกรรมบ่งชี้ (คร่าว ๆ ไม่ใช่กฏตายตัว) กลุ่ม พฤติกรรมบ่งชี้ (คร่าว ๆ ไม่ใช่กฏตายตัว) การจำ remembering ระลึก บอก ระบุ บอกชื่อ ทำซ้ำ คัดลอก เขียนรายการของสิ่งที่เคยเรียนรู้/ผ่านตา ฯลฯ การเข้าใจ understanding แปลความหมาย ถอดความ ยกตัวอย่างเพิ่มเติม สรุปความ อ้างอิง บอกหลักการเบื้องหลัง ฯลฯ การประยุกต์ applying นำไปใช้ ประยุกต์ แก้ไขปัญหา เลือกใช้ นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ที่ต่างไปจากเดิม ฯลฯ การวิเคราะห์ analyzing เปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ บอกความเหมือนความต่าง จำแนก ตรวจสอบ วินิจฉัย หาจุดเปลี่ยน ฯลฯ การประเมินค่า evaluating พิสูจน์หรือตัดสินใจ ตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน อภิปราย แก้ต่าง โต้แย้ง เลือก ให้คุณค่า ฯลฯ การสร้างสรรค์ creating ออกแบบ วางแผน ผลิต สร้าง ให้ความเห็นในมุมมองใหม่ ฯลฯ

การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้

การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา พื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลการเรียนรู้

การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา พื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ สอดคล้องตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน วัดได้ KPA

การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ฯลฯ บรรลุจุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกปฏิบัติผ่านการคิดวิเคราะห์ ศักยภาพผู้เรียน,กลุ่มสาระ

การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา พื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วัดอะไร เครื่องมือที่วัด กิจกรรมการเรียนการสอน วัดอย่างไร เกณฑ์การผ่าน การวัดผลการเรียนรู้

ค 3.1 ม.3/1 ค ม.3/1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.1 สาระที่ 3 มาตรฐานข้อที่ 1 ม.3/1 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อที่ 1

การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) จุดประสงค์การเรียนการสอนที่บอกให้ทราบว่า หลังจากเรียนจบบทนั้นๆ แล้วผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรม ที่วัดได้ สังเกตได้ ออกมาอย่างไรบ้าง

สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข (Condition)  เกณฑ์ (Criteria)

พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) สิ่งที่อยากให้นักเรียนแสดงออก เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หลังจากเรียนจบบทเรียนนั้นแล้ว การเรียนพฤติกรรมที่คาดหวังต้องใช้คำกริยาเชิงพฤติกรรม มีความหมายเฉพาะอย่างเดียว ชัดเจน ไม่กำกวม สามารถสังเกตการกระทำได้โดยตรง ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อนได้ถูกต้อง

สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข (Condition)  สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข (Condition)  เพื่อให้จุดประสงค์ที่กำหนดมีความชัดเจน ขึ้น ควรใส่สถานการณ์หรือเงื่อนไขลงไปด้วย ซึ่ง อาจเป็น บทประพันธ์ แบบฝึกหัด สื่อการสอน วัสดุอุปกรณ์ โจทย์ รายการ ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อนได้ถูกต้อง

เกณฑ์ (Criteria) เกณฑ์ (Criteria)  ระดับพฤติกรรมที่กำหนด ต้องเกิดขึ้นมากน้อยแค่ ไหนถึงจะยอมรับได้ ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อน ได้ถูกต้อง

มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม

ค 3.1 ม.3/1 : อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม Understanding ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม ลักษณะ สมบัติ

จุดประสงค์การเรียนรู้ ค 3.1 ม.3/1 : อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม จุดประสงค์การเรียนรู้ ลักษณะ สมบัติ   ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม นักเรียนสามารถบอก ลักษณะของ........ ได้อย่างถูกต้อง นักเรียนสามารถบอก สมบัติของ........ ได้อย่างถูกต้อง Expected Behavior Condition Criteria

จุดประสงค์การเรียนรู้ ค 3.1 ม.3/1 : อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม จุดประสงค์การเรียนรู้ ลักษณะ สมบัติ   ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม นักเรียนสามารถอธิบาย ลักษณะของ........ ได้อย่างถูกต้อง นักเรียนสามารถอธิบาย สมบัติของ........ ได้อย่างถูกต้อง Expected Behavior Condition Criteria

มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.4-6/1 เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต และนำไปใช้แก้ปัญหา

ค 4.2 ม.4-6/1 : เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต และนำไปใช้แก้ปัญหา Understanding เขียน เซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ applying

จุดประสงค์การเรียนรู้ ค 4.2 ม.4-6/1 : เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซตและนำไปใช้แก้ปัญหา จุดประสงค์การเรียนรู้ Understanding applying   Expected Behavior นักเรียนสามารถเขียน แผนภาพเวน-ออยเลอร์แสดงเซตที่กำหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง Condition นักเรียนสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับเซตที่กำหนดให้โดยใช้แผนภาพเวน-ออยเลอร์ ได้ถูกต้อง Criteria

เปรียบเทียบ (ความเหมือน-ความต่าง) ศ 4.2 ม.3/2 : เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล งานทัศนศิลป์ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากล เปรียบเทียบ (ความเหมือน-ความต่าง)   - สมัยโบราณ    - สมัยกลาง    - สมัยใหม่ - สมัยก่อนสุโขทัย     - สมัยสุโขทัย     - สมัยอยุธยา     - สมัยรัตนโกสินทร์    1. แนวความคิกและปรัชญาความเชื่อ    2. วัสดุและสิ่งแวดล้อม    3. การรับอิทธิพลทางศิลปะ    4. หน้าที่ใช้สอย

จุดประสงค์การเรียนรู้ ศ 4.2 ม.3/2 : เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล จุดประสงค์การเรียนรู้ งานทัศนศิลป์ Analyze วัฒนธรรมไทย    1. แนวความคิดและ ปรัชญาความเชื่อ    2. วัสดุและสิ่งแวดล้อม    3. การรับอิทธิพลทางศิลปะ    4. หน้าที่ใช้สอย - สมัยก่อนสุโขทัย     - สมัยสุโขทัย     - สมัยอยุธยา     - สมัยรัตนโกสินทร์   1. นักเรียนสามารถ บอกลักษณะ......   2. นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะ......   3. นักเรียนสามารถ เปรียบเทียบ......

จุดประสงค์การเรียนรู้ ศ 4.2 ม.3/2 : เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล จุดประสงค์การเรียนรู้ งานทัศนศิลป์ วัฒนธรรมสากล Analyze    1. แนวความคิดและ ปรัชญาความเชื่อ    2. วัสดุและสิ่งแวดล้อม    3. การรับอิทธิพลทางศิลปะ    4. หน้าที่ใช้สอย   1. นักเรียนสามารถ บอกลักษณะ......   - สมัยโบราณ    - สมัยกลาง    - สมัยใหม่   2. นักเรียนสามารถ อธิบายลักษณะ......   3. นักเรียนสามารถ เปรียบเทียบ......

ว 5.3 ม.4/4 : ระบุหน่วยวัดปริมาณต่างๆ ของสารและเปลี่ยนหน่วยวัด ให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอ ด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย

จุดประสงค์การเรียนรู้ ว 5.3 ม.4/4 : ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสารและเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย จุดประสงค์การเรียนรู้ งานทัศนศิลป์ remembering applying   1. นักเรียนสามารถ บอกหน่วยวัดปริมาณต่างๆ ของสารได้ถูกต้อง การเปลี่ยนหน่วย (การใช้แฟกเตอร์ เปลี่ยนหน่วย)   3. นักเรียนสามารถ เปลี่ยนหน่วยในบบ เอสไอให้เป็นหน่วยสากล ได้   2. นักเรียนสามารถ อธิบายการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย ได้ Understanding

ประเภทของการประเมิน Assessment of learning ( summative assessment) ใช้ประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนโดยดูจาก การแสดงออกของนักเรียน Assessment as learning (Formative assessment) เป็นการนำการประเมินมาใช้เป็นวิธีการเรียนรู้หรือเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ Assessment for learning (Formative assessment) เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้ข้อมูลในการปรับปรุงทั้งครูและนักเรียน โดยมุ่งประโยชน์ที่เกิดกับนักเรียนเป็นสำคัญ

องค์ประกอบของการประเมินภาคปฏิบัติ ตัวงาน/กิจกรรม เกณฑ์การให้คะแนน 

ธรรมชาติของการประเมินภาคปฏิบัติ กระทำได้ ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม วิธีการประเมิน จะแตกต่างกันตามงาน ที่มอบหมาย วัดได้ทั้งกระบวนการ และผลงาน

ลักษณะของการประเมินภาคปฏิบัติ ประเมินจากผลงาน (Product) สังเกต ชิ้นงาน ประเมินจากกระบวนการ (Process) ขณะกำลังปฏิบัติ ประเมินจากกระบวนการและผลงาน (Product & Process) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผลงานจากการปฏิบัติ +

รูปแบบการวัดภาคปฏิบัติ การให้เขียนตอบ (Paper and Pencil Performance Test) 1 เชิงจำแนก (Identification Test) 2 สถานการณ์จำลอง (Simulated Situation Performance)  3 ตัวอย่างงาน (Work Sample) 4

เครื่องมือการประเมินภาคปฏิบัติ ประเภทใช้วัดกระบวนการปฏิบัติงาน เน้นทักษะความสามารถในการทำงาน ประเภทใช้วัดผลงาน เน้นคุณภาพของผลงาน

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด K P A กำหนดตัวชี้วัดในการประเมินภาคปฏิบัติ กำหนดสัดส่วนคะแนน สอดคล้อง กำหนด TASK ที่จะประเมิน สร้างเครื่องมือประเมิน หาคุณภาพของเครื่องมือ จัดพิมพ์เครื่องมือและคู่มือ

ตัวอย่างเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ

กรณีที่ 1 ประเมินผลงาน (product) สาระที่ 3 เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.2 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ให้นักเรียนวาดภาพที่มีความหมายในชีวิตจริงอยู่ในสภาพแวดล้อมใกล้ตัว โดยใช้รูป เรขาคณิตอย่างน้อย 4 ชนิด ขนาดของภาพตามกรอบที่กำหนดให้ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง รายการ ใช่ ไม่ใช่ 1. ใช้รูปเรขาคณิตไม่น้อยกว่า 4 ชนิด 2. เป็นภาพที่มีความหมายในชีวิตจริง 3. วาดภาพสำเร็จตามเวลาที่กำหนด เกณฑ์ประเมินการผ่าน ผลงานต้องมีลักษณะทั้ง 3 รายการ

กรณีที่ 2 ประเมินกระบวนการ (process) แบบประเมินการทาบกิ่ง สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีพ มาตรฐาน ว 1.1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ (การนำความรู้เรื่องการขยายพันธุ์พืชไปใช้ประโยชน์) ให้นักเรียนเลือกวัสดุอุปกรณ์ กิ่งพันธุ์ ที่เหมาะสมเพื่อทำการทาบกิ่งให้ถูกต้อง ตามลำดับขั้นตอนการขยายพันธุ์พืช ภายในเวลา 1ชั่วโมง แบบประเมินการทาบกิ่ง ชื่อนักเรียน คำชี้แจง : ประเมินโดย  ตัวเลขตามระดับที่ต้องการ จากมาก ที่สุด (5) ถึงน้อยที่สุด (1) 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง 5. ความเรียบร้อยของผลงาน 5 4 3 2 1

กรณีที่ 3 ประเมินกระบวนการและผลงาน (process and product) สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ให้นักเรียนวัดความยาวของสิ่งของต่อไปนี้โดยเลือกใช้เครื่องวัดที่กำหนดให้ (ไม้เมตร ไม้ บรรทัด สายวัดตัวสายวัดตลับเมตร) แล้วบันทึกผลลงในตารางที่กำหนดให้ รายการสิ่งของที่วัด เครื่องมือที่ใช้วัด ความยาว 1. ความยาว/สนามเด็กเล่น 2. รอบเอว 3. ปากกา 4. ความยาวหนังสือคณิตศาสตร์ 5. ความยาวกระดานดำ

กรณีที่ 3 (ต่อ) ประเมินโดยสังเกตจากกระบวนการและผลงานของนักเรียน ดังนี้ 1. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของสนามเด็กเล่น  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 2. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของรอบเอว  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของปากกา  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 4. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของหนังสือเรียน  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 5. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวของกระดานดำ  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม 6. ผลการวัดความยาวของสนามเด็กเล่น  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 7. ผลการวัดความยาวของรอบเอว  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 8. ผลการวัดความยาวของปากกา  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 9. ผลการวัดความยาวของหนังสือเรียน  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง 10. ผลการวัดความยาวของกระดานดำ  ถูกต้อง  ไม่ถูกต้อง เกณฑ์การประเมิน ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 8-10 รายการ ระดับ ดี ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 5-7 รายการ ระดับ พอใช้ ปฏิบัติได้เหมาะสม /ถูกต้อง 0-4 รายการ ระดับ ปรับปรุง เกณฑ์ตัดสิน การผ่านต้องได้ระดับพอใช้หรือดี

สรุปแนวทางในการพิจารณาเครื่องมือประเมินภาคปฏิบัติ  รูปแบบเครื่องมือเหมาะสมกับลักษณะที่ประเมิน (ผลงาน/กระบวนการ/ผลงาน+กระบวนการ)  เรื่องที่ประเมินสอดคล้องกับตัวชี้วัด  ประเด็นการประเมินสอดคล้องและครอบคลุมเรื่องที่ประเมิน  ประเด็นการประเมินเป็นพฤติกรรมที่มองเห็นได้ชัดเจน  เกณฑ์การให้คะแนนเหมาะสม

ลักษณะของเครื่องมือ. ในการประเมินภาคปฏิบัติ ลักษณะของเครื่องมือ ในการประเมินภาคปฏิบัติ - แบบตรวจสอบรายการ (checklist) - แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) - แบบบันทึกพฤติกรรม

แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ใช่ ไม่ใช่ 1. ใช้รูปเรขาคณิตไม่น้อยกว่า 4 ชนิด 2. เป็นภาพที่มีความหมายในชีวิตจริง 3. วาดภาพสำเร็จตามเวลาที่กำหนด เกณฑ์ประเมินการผ่าน ผลงานต้องมีลักษณะทั้ง 3 รายการ รายการ ทำ ไม่ทำ 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง เกณฑ์ประเมินการผ่าน ปฏิบัติครบทุกขั้นตอน

แบบประเมินการทาบกิ่ง แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale) แบบประเมินการทาบกิ่ง คำชี้แจง : ประเมินโดย  ตัวเลขตามระดับที่ต้องการ จากมาก ที่สุด (5) ถึงน้อยที่สุด (1) 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง 5 4 3 2 1 แบบประเมินการทาบกิ่ง คำชี้แจง : ประเมินโดยใส่เครื่องหมาย / ลงในช่องระดับคะแนน รายการ ระดับคะแนน 5 4 3 2 1 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง

ลักษณะของพฤติกรรมที่พบ แบบบันทึกพฤติกรรม ประเด็น ลักษณะของพฤติกรรมที่พบ 1. การวางแผน / การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 2. การเลือกวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 3. การเลือกกิ่งพันธุ์เพื่อใช้ในการทาบกิ่ง 4. การปฏิบัติตามลำดับขั้นตอนการทาบกิ่ง

เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) เป็นเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการประเมินทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน (Procedure) และผลงานจากการปฏิบัติ (Product) เพื่อกำหนดแนวทางในการตัดสินอย่างยุติธรรม และปราศจากความลำเอียงจากผู้ตรวจให้คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนจึงต้องมีความชัดเจนอย่างพอเพียง เพื่อให้ผู้ประเมินทุกคนสามารถใช้เกณฑ์การให้คะแนนเดียวกันประเมินชิ้นงานของผู้เรียนชิ้นเดียวกันแล้วให้คะแนนได้ตรงกัน

แบบภาพรวม (Holistic Rubrics) เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubrics) แบบภาพรวม (Holistic Rubrics) แบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน  มีคำอธิบายลักษณะของงานในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน การให้คะแนนจะพิจารณาผลรวมหรือภาพรวมทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) เป็นแนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละส่วนของงาน  ซึ่งแต่ละส่วนจะต้องกำหนด แนวทางการให้คะแนนโดยมีคำนิยามหรือคำอธิบายลักษณะของงานส่วนนั้นๆ ในแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน

ขั้นตอนการเขียนเกณฑ์การให้คะแนน ศึกษางาน (Task) ที่ต้องการประเมิน กำหนดประเด็นการประเมิน กำหนดลักษณะการปฏิบัติ ของแต่ละระดับคุณภาพในแต่ละประเด็น

เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบภาพรวม (Holistic Rubrics)

การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร ภาระงาน ประเด็น ระดับคุณภาพ มารยาท บนโต๊ะอาหาร 1. การรับประทานอาหาร 2. การพูดคุยบนโต๊ะอาหาร 3 = ทานอาหารโดยใช้ช้อน ส้อมถูกวิธี ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหาร ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก ไม่พูดเรื่องหวาดเสียวหรือเรื่องไม่สุภาพ ใช้ภาษาที่สุภาพ 2 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม ไม่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง และตักอาหารพอดีคำ ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง บริการอาหารแก่ผู้อื่นที่ห่างจากอาหารบ้าง ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ 1 = ทานอาหารโดยใช้ช้อนส้อม แต่วางช้อนส้อมเสียงดัง ตักอาหารโดยใช้ช้อนกลาง เคี้ยวอาหารเสียงดัง พูดขณะอาหารอยู่ในปาก พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ

เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics) ตัวอย่าง เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกส่วน (Analytic Rubrics)

การประเมินมารยาทบนโต๊ะอาหาร ภาระงาน ประเด็นการประเมิน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 3 2 1 มารยาท บนโต๊ะอาหาร การรับประทานอาหาร 1) ใช้ช้อนส้อมถูกวิธี 2) ใช้ช้อนกลางตักอาหารทุกครั้ง 3) ตักอาหารไม่หก 4) ตักอาหารพอดีคำ 5) ไม่เคี้ยวอาหารเสียงดัง ปฏิบัติครบทุกรายการ ไม่สมบูรณ์ 1 รายการ ไม่สมบูรณ์ มากกว่า 1 รายการ การพูดคุย 1) ไม่พูดขณะอาหารอยู่ในปาก 2) ไม่พูดเรื่องหวาดเสียว หรือเรื่องไม่สุภาพ ไม่สมบูรณ์ทั้ง 2 รายการ

ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การประเมิน (Scoring Rubrics) . กำหนดประเด็นสำคัญในการตรวจให้คะแนน และจัดลำดับ ความสำคัญหรือน้ำหนักของแต่ละประเด็น 2. กำหนดระดับหรือคุณภาพที่ต้องการให้คะแนน เช่น 3 ระดับ ได้แก่ ดี (2 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน) และ ปรับปรุง (0 คะแนน) 3. กำหนดรูปแบบของRubric คือ แบบภาพรวม (Holistic Rubric) หรือ แบบแยกส่วน (Analytic Rubric)

ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics) 4. วิธีการเขียนคำอธิบายในแต่ละระดับสามารถเขียนได้ 3 รูปแบบ คือ แบบที่ 1 กำหนดคำอธิบายแบบลดลง หมายถึง การเขียนเกณฑ์การให้คะแนนโดย เริ่มเขียนเกณฑ์ที่ระดับคุณภาพสูงสุดหรือได้คะแนนเต็มก่อนแล้วลดคะแนนตาม คุณภาพที่ลดลง แบบที่ 2 กำหนดคำอธิบายแบบบวกหรือเพิ่มขึ้น หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพ ต่ำสุดหรือไม่ได้คะแนนก่อนแล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามระดับคะแนนที่เพิ่มขึ้นไป ตามลำดับ แบบที่ 3 กำหนดคำอธิบายแบบเพิ่มขึ้นและลดลง หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับ คุณภาพกลาง(พึงพอใจ/ผ่านเกณฑ์) แล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามคะแนนที่เพิ่มขึ้น (ดี/ดีมาก) และลดระดับคุณภาพตามคะแนนที่ลดลง(ปรับปรุง)ไปตามลำดับ

ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics) 5. ตรวจสอบโดยคณะผู้มีส่วนร่วมหรือ ผู้เชี่ยวชาญทางการวัดผล 6. ทดลองใช้เกณฑ์ในการตรวจผลงานที่มีมาตรฐาน/คุณลักษณะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 7. ตรวจสอบความเป็นปรนัย (objective Testing) ของเกณฑ์การตรวจให้คะแนนจากของกรรมการ 3 ท่าน ในลักษณะของ Inter rater Reliability 8. ตรวจสอบความความตรงตามสภาพจริง (Concurrence Validity) 9. ปรับปรุงเกณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

การตรวจสอบคุณภาพของเกณฑ์การประเมิน (rubric) 1 Objective testing Rater1 Rater2 Rater3 ผลการตอบของนักเรียน ปรับปรุง พอใช้ ดี Concurrence Validity testing Rater1 2

"วินัยเชิงบวก"  การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นกระบวนการ โน้มน้าวคนให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง จากพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ให้เป็นพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ อย่างมีเหตุผล ด้วยวิธีที่นุ่มนวล ให้เกียรติ ในศักดิ์ศรีคุณค่าความเป็นคน โดยกระตุ้น ให้เกิดความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง ไม่ได้เกิดจากการถูกบังคับหรือ ถูกควบคุมเหมือนกับ "การลงโทษ" ที่ควบคุมพฤติกรรมโดยการทำให้เจ็บปวด หรืออับอาย

หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเองและบุคลิกลักษณะที่ดี พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด คำนึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก พยายามให้เกิดความยุติธรรม เท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ เสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่ม

การ"จับถูก" เมื่อนักเรียนทำดี และให้รางวัลทันที คือ หัวใจของการสร้างวินัยเชิงบวก