Routine to Research R2R in Ortho

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Routine-to-Research (R2R).
Advertisements

Routine-to-Research (R2R)‏.
ชื่อโครงการ.
Orthopedic management of osteoporosis
Jeraporn Permyao, RN Orthopedic Nursing Department Chiangrai Prachanukroh Hospital Routine to Research R 2 R in Ortho.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
Report การแข่งขัน.
บทที่ 2 การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
การนำเสนอผลการจัดทำแผนและคำของบประมาณ
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคข้อต่อเสื่อม และการพยาบาลหลังผ่าตัดข้อต่อ
โครงการเด็กไทยสายตาดี
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
บทที่ 7 ราคา Price.
Market System Promotion & Development Devision
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศักดิ์ สิงห์สีโว
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
แนวทางการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำดื่ม และน้ำแข็งบริโภค ในสถานประกอบการ
Effective Child Development สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
4.8 พัฒนาการเด็กวัยเรียน
คุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
พญ.ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
การกำหนด STP Segmentation Target Positioning
วิลเลียม ฮาร์วีย์ (William Harvey) ด.ญ.กัณฐิกา จันแย้ ม.4.3 เลขที่ 1
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ความสำคัญของโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
แบบฟอร์มการนำเสนอหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
โดย ทันตแพทย์หญิงวรวรรณ อัศวกุล ศูนย์อนามัยที่ ๕ ราชบุรี
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์
ผลการพัฒนาถุงรองรับน้ำย่อย จากกระเพาะอาหาร
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
จัดสวัสดิการผู้สูงอายุตามวิถีแว้ง
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการ
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
คู่มือการใช้งานแอพพลิเคชั่นบนโทรศัพท์มือถือ
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Routine to Research R2R in Ortho Jeraporn Permyao, RN Orthopedic Nursing Department Chiangrai Prachanukroh Hospital

R2R คือ Keyword “ทำงานวิจัยจากงานประจำ / ทำงานประจำจนเป็นงานวิจัย” “มุ่งเน้นนำการวิจัยพัฒนางานประจำให้ดีขึ้น” “ไม่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ”

องค์ประกอบ R2R 1. โจทย์วิจัย: ปัญหาหน้างาน ทำประจำต้องการทำให้ดีขึ้น 2. ผู้วิจัย: ผู้ปฏิบัติโดยตรง 3. ผลลัพธ์ของงานวิจัย: วัดผลได้จากผู้รับบริการ ---ลดขั้นตอน บริการดีขึ้น แก้ปัญหาภาระงาน ผลการรักษาดีขึ้น ลดภาวะแทรกซ้อนและวันนอน... “ควรพัฒนา R2R จากงานที่ทำอยู่...ไม่เปิดหน้างานเพิ่มภาระให้ตนเอง”

ประโยชน์ของ R2R แก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน เป็นต้นแบบสู่งานวิจัย พัฒนาองค์กร ประเมินบุคคล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน

ตัวอย่าง R2R Ortho รองเท้าบริหาร (2557) หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสระแก้ว

ตัวอย่าง R2R Ortho ORTHOPAEDIC CRYO CUFF (OCC) โรงพยาบาลมหิดล (2555)

ตัวอย่าง R2R Ortho Cold Compression Pump for Pain Relief 108 โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า (2553)

ตัวอย่าง R2R Ortho นวตกรรม Zero....defcet โรงพยาบาลศิริราช (2552)

จงวิเคราะห์ตนเองท่านอยู่ในกลุ่มใด ? กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลเอาไว้บ้างแล้วแต่ยังไม่รู้ว่าจะ ทำอะไรต่อไปอย่างไร กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ กลุ่ม 3 สนใจที่จะทำงานวิจัยมากแต่ยังไม่มี โครงการแน่นอน กลุ่ม 4 สนใจที่จะทำวิจัยพอควร แต่ไม่ค่อยแน่ใจ ว่าจะทำได้หรือไม่ กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ

บัว 4 เหล่า

ทั้ง 5 กลุ่มนี้ สามารถทำงานวิจัยได้สำเร็จทั้งสิ้น โดยการเริ่มต้นที่ไม่เหมือนกัน และอาจใช้เวลาต่างกัน

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 1 เก็บข้อมูลมาบ้างแล้ว ลองเอาข้อมูลเดิมมาพิจารณา แล้วดูว่าเราจะใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง การวิจัยเป็นแบบ survey เพื่อดูอุบัติการณ์ของปัญหาบางอย่าง กลุ่ม 2 มีโครงการวิจัยหรือมีหัวข้ออยู่แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มทำ เริ่มต้นปรับโครงการเดิม โดยเขียนให้ชัดเจนขึ้น มีการทบทวนเอกสารมากขึ้น และส่งขอทุนวิจัย

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 3 สนใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร ดูปัญหาใกล้ตัว วิเคราะห์ปัญหาให้ชัด เริ่มพัฒนาโครงการตามขั้นตอน กลุ่ม 4 สนใจพอควร แต่ยังไม่ค่อยแน่ใจว่าจะทำได้หรือไม่ อ่านเอกสารที่เกี่ยวข้องมากๆ เพื่อกระตุ้นให้คิดได้ ศึกษาบทเรียนของผู้อื่น ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้เกิดการต่อยอดความคิดของตนเอง

ความแตกต่างระหว่างกลุ่ม กลุ่ม 5 ไม่ต้องการทำวิจัยเลย คิดว่ายุ่งยาก และไม่สนใจ อย่ายุ่ง....... อย่ากวน....... อย่าชวน.......ไม่สน........ ?

ทางออกกลุ่ม 5 1. ลองคิดใหม่อีกครั้ง 2. ลองหาทางทำงานวิชาการประเภทอื่นๆที่เทียบเคียง - งานทบทวนงานวิจัย - โครงการใช้ผลการวิจัย (research utilization)‏

เมื่อตัดสินใจเริ่มต้น ก้าวแรกมักเป็นก้าวที่ต้องการ ผู้ช่วยเหลือ

ส่วนก้าวต่อๆไป เป็นก้าวที่ต้องการ เพื่อนคู่หู

การทำวิจัยเป็น “ทีม” เป็นอีกกลวิธีหนึ่ง ที่จะทำให้เกิดความสำเร็จ

คำถาม 108 ที่อาจเป็นอุปสรรค นักวิชาการมักตั้งคำถามเหล่านี้ 1. การคำนวณขนาดตัวอย่าง ??? 2. ความน่าเชื่อถือของ intervention??

คำถามเหล่านี้อาจบั่นทอนกำลังใจ ของพยาบาลนักปฏิบัติการที่กำลังริเริ่มทำวิจัยใหม่ๆ ทำให้เบื่อหน่าย + ไม่อยากทำวิจัย

คนที่จะริเริ่มทำวิจัย ต้องไม่เป็น พวก “ทองไม่รู้ร้อน”

ทางออกที่ดี พบกันคนละครึ่งทาง พยายามผลักดันให้นักปฏิบัติมองงานที่ทำอยู่ประจำวันเป็นงานวิจัย งานพัฒนาคุณภาพที่ทำอยู่ เก็บข้อมูลดี ๆ รายงานผลให้เป็น และใช้สถิติเปรียบเทียบให้ถูกต้อง ก็สามารถ report ได้ในลักษณะของงานวิจัย

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 1. เข้าใจธรรมชาติงานวิจัยทางคลินิกของพยาบาลนักปฏิบัติ 2. นักปฏิบัติอยู่กับการปฏิบัติ ต้องเอื้อให้สามารถใช้การปฏิบัติ และการแก้ปัญหาการปฏิบัติประจำวันพัฒนาไปเป็นการวิจัย

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 3. ต้องเข้าใจว่านักปฏิบัติที่ยังไม่เคยทำวิจัยเอง อาจไม่คล่องตัว เรื่องการใช้สถิติในกระบวนการวิจัย ดังนั้น “ต้องหาที่ปรึกษาทางด้านนี้”

สิ่งสนับสนุนที่ช่วยเอื้อ ผู้บริหารด้านการวิจัยขององค์กร 4. ต้องเปิดไฟเขียวให้ทุกๆเรื่อง ไม่จู้จี้เกินไป และต้องยอมรับความไม่สมบูรณ์บางอย่างได้ 5. ตระหนักเสมอว่า ถ้าไม่มีการเริ่มต้นงานที่ 1 จะไม่มีงานที่ 2,3,4……

งานวิจัยเป็นกระบวนการ การดำเนินการทุกอย่าง เป็นไปตามขั้นตอน แต่ละขั้นตอนมีกิจกรรมที่แตกต่างกัน อรพรรณ โตสิงห์

“คิดโจทย์ในการวิจัย” เริ่มต้น คือ “คิดโจทย์ในการวิจัย” อรพรรณ โตสิงห์

เริ่มต้นคิดหัวข้อวิจัย กันอย่างไร ?

คิดเอง คิด คิด คิด วิจัย วิจัย วิจัย R 2 R, zzzZZZZZ

บอกต่อ ทำเรื่องนี้ซิเธอ.......… ………….in trend

วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในคลินิก

โจทย์วิจัยได้จาก 1. ความไม่พอใจในสิ่งที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน เอากิเลสของตนเป็นที่ตั้งโจทย์ สำรวจว่างานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน มีอะไรที่ เป็นปัญหา ถ้าไม่มีปัญหาแล้ว การปฏิบัติแบบเดิมๆ ที่ทำ ปรับให้ดีขึ้นได้หรือไม่  ถ้ารู้สึกว่าดีแล้ว ทำให้ดีกว่านี้ได้หรือไม่

โจทย์วิจัยได้จาก 2. ความพอใจหรือเป้าหมายขององค์กร ซึ่งรวมถึงผู้ป่วยและครอบครัว เอากิเลสของคนอื่นมาเป็นที่ตั้ง -วิจัยที่ดี ต้องมีคนต้องการ -วิจัยที่ดี ต้องแก้ปัญหาให้คนที่เกี่ยวข้องได้ -การวิเคราะห์ความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง จะทำให้ได้รับ support ที่ดี (เงิน เวลา นโยบายในการเปลี่ยนแปลง)‏

โจทย์วิจัยได้จาก 3. การอ่านวารสาร งานวิจัยที่ตีพิมพ์ - ศึกษางานของคนอื่นๆ บ้าง เพราะปัจจุบัน เราไม่ได้เริ่มต้นจาก ศูนย์แล้ว ใครทำอะไร ? ทำไปถึงไหน ? ช่องว่างอยู่ตรงไหน ?

โจทย์วิจัยได้จาก 4. การพบปะพูดคุย หรือการสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ ทั้งเป็นการส่วนตัว หรือ ในการประชุมวิชาการต่างๆ

โจทย์วิจัยได้จาก 5. Replication of studies การทำวิจัยซ้ำ เช่นทำซ้ำใน settings อื่นๆ 6. จากทฤษฎี เพื่อเป็นการพิสูจน์ทฤษฎี ต่างๆ

โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ คณะกรรมการสนับสนุนการวิจัย อบรมเชิงปฏิบัติการการวิจัยในคลินิกเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย

งานวิจัยที่ผ่านมา การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression โปรแกรมการให้ความรู้และฝึกทักษะการป้องกันแผลกดทับแก่ผู้ดูแลผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่รักษาแบบไม่ผ่าตัด การลดความเจ็บปวดและลดอุบัติการณ์หลอดเลือดดำอักเสบขณะได้รับการฉีดยา Cloxacillin การใช้แบบประเมินเฝ้าระวัง Compartment syndrome เพื่อลด Fasciotomy และ/หรือ Amputation

การสูญเสียเลือดผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมเปรียบเทียบระหว่างวิธี Robert Jones Bandage กับ Cryo-compression เปรียบเทียบการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัด Robert Jones bandage VS cryo-compression สถิติเดิม 950 ซีซี ประคบเย็น ลดลง 200-300 ซีซี

TKA ร.พ.เชียงรายประชานุเคราะห์ วิธีการศึกษา ผู้ป่วยที่ใช้ในการศึกษา TKA ร.พ.เชียงรายประชานุเคราะห์ cryo–compression Robert Jones bandage Robert Jones Bandage + Transamine® cryo–compression ทุก 1 ชั่วโมง cryo–compression ทุก 2 ชั่วโมง 8

ผลการศึกษา วิธีการ Jone’s bandage Jone’s bandage + Transamine Cryo cuff ทุก 1 ชม ทุก 2 ชม Total blood loss 783 442 675 670

ผลการศึกษา ในการผ่าตัด TKA การใช้ Robert Jones bandage ร่วมกับการให้ยา Transamine® น่าจะเป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่งในการลดการสูญเสียเลือดหลังผ่าตัด การใช้ Cryo compression ทุก 1 / 2 ชั่วโมงใน 24 ชั่วโมง มีปริมาณการเสียเลือดไม่แตกต่างกัน

Thank You For Your Attention