สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘.
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การแบ่งกลุ่มวิเคราะห์ / ทบทวนการพัฒนาที่ ผ่านมา. ประเด็น ทบทวนต้นทุนเดิมในการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพ 1. กระบวนการพัฒนาที่ผ่านมา 2. จุดเด่นที่เป็นพลังในการ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว
ยุทธศาสตร์สุขภาพ กลุ่มแม่และเด็ก
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
แผนปฏิบัติการ คปสอ.เมืองตราด ปีงบประมาณ 2559.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระเบียบวาระที่ 4 : เรื่องเพื่อทราบ
คู่มือ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต สำหรับ Child & Family Team (CFT) เขตสุขภาพที่ 9.
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ รองอธิบดีกรมอนามัย
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปภาพรวมผลการดำเนินงาน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบดำเนินงาน
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย 1

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็ก หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน หรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ต่ำกว่าเกณฑ์ ผลงาน 53.35 (เกณฑ์ ≥ ร้อยละ 60) 1. ค้นหาหญิงตั้งครรภ์เชิงรุกในชุมชน 2. ANC เชิงรุกในสถานประกอบการ 3. พัฒนาศักยภาพ รพ.สต.ห่างไกล บริการรับฝากครรภ์ การควบคุม กำกับติดตาม ทารกอายุ 2 วันขึ้นไป มีภาวะขาดสาร ไอโอดีน ผลงาน ร้อยละ 10.07 (เกณฑ์ <ร้อยละ 3) 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 97.01 2. ไอโอดีนในครัวเรือน ชุมชน กำกับการกินยา อาหาร ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ผลงาน ร้อยละ 9.51 (เกณฑ์ ≤ ร้อยละ 7) 1. การป้องคลอดก่อนกำหนด (ร้อยละ 56.45) 2. การดูแลแม่วัยรุ่น (ร้อยละ 14.76) ANC คุณภาพ

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) (สุขภาพดีและจิตใจงาม) คุณภาพเด็กรายบุคคล (สุขภาพดีและจิตใจงาม) ภาวะโภชนาการและ การเจริญเติบโต สุขภาพช่องปาก ความฉลาด ทางอารมณ์ พัฒนาการ จิตใจงาม 1. มีระเบียบวินัย 2. มีมารยาท 3. ช่วยเหลือตนเอง วัคซีน ประชุมผู้บริหาร อบรมครูพี่เลี้ยง บูรณาการแผน อบรมเจ้าหน้าที่ เครื่องมือ DSPM แนวทางจาก ส่วนกลาง ปี 59

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน เด็กวัยเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน ผลงาน ร้อยละ 10.34 (3,639 คน) เกณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 10 สุขภาพช่องปาก ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย วัคซีน คัดกรองนักเรียนชั้น ป.1 พบภาวะเสี่ยง ปัญหาการเรียน ร้อยละ 9.32 สมาธิสั้น ร้อยละ 5.53 สติปัญญาบกพร่อง ร้อยละ 3.84 - ออทิสติก ร้อยละ 0.46 ระบบการดูแลช่วยเหลือ โรงเรียน ครู บ้าน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน อสม. ระบบการส่งต่อ รพช. รพท. - จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น ตรวจยืนยันโดย พยาบาลจิตเวช ของ รพ.ทุกแห่ง

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น หญิงหลังคลอดอายุ 15-19 ปี 508 คน (ร้อยละ 31.69) เกณฑ์ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร ป้องกันการตั้งครรภ์ ทักษะชีวิต หญิงหลังคลอดอายุ 15-19 ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ 98 คน (ร้อยละ 19.29) เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 ป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ การคุมกำเนิด

มะเร็งปากมดลูก/เต้านม ความครอบคลุม จัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน การค้นหามะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมล่าช้า พบมะเร็งในระยะท้าย มะเร็งเต้านม คุณภาพของการตรวจคัดกรอง พัฒนาทักษะการตรวจคัดกรอง ความตระหนัก ของสตรีกลุ่มเป้าหมาย

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุและผู้พิการ สร้างระบบการดูแลและส่งต่อ กลุ่มผู้สูงอายุ 74,142 คน คัดกรองโรค สังคมผู้สูงอายุ สร้างระบบการดูแลและส่งต่อ สร้างสังคมรองรับผู้สูงอายุ สถานบริการ ครอบครัว ชุมชน แก้ไข ป้องกัน

รพ. ที่ผ่านการรับรองคุณภาพด้านการบำบัดรักษา ( HA ) ยาเสพติด ปี 2558 1 รพ.ที่ผ่านการรับรองคุณภาพด้านการบำบัดรักษา ( HA ) ยาเสพติด ปี 2558 1. ประเภท Re- accredit (ครั้งที่ 1 ) รพ.หนองหญ้าปล้อง, รพ.เขาย้อย, รพ.ชะอำ และ รพ.บ้านแหลม 2. ประเภท Accredit คือ รพ.บ้านลาด, รพ.แก่งกระจาน

ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี ได้คัดเลือกจังหวัดเพชรบุรี เข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง...มุ่งสู่สุขภาพดี” ปี 2558 โดยให้คลินิก DPAC โรงพยาบาลบ้านลาด จัดบู๊ธนิทรรศการ ระหว่างวันที่ 13-14 กรกฎาคม 255 ณ โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ