ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒ สำนักงาน ป.ป.ส. การประชุมหารือ แนวทางการตรวจหาสารเสพติดในปัสสาวะ ของผู้เข้ารับการตรวจเลือกทหารกองเกิน เข้ารับราชการทหารกองประจำการ ประจำปี ๒๕๖๑ วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้องประชุมกฤษณะ ผลอนันต์ อาคาร ๓ ชั้น ๒ สำนักงาน ป.ป.ส.
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ประธานกล่าวต้อนรับ ที่มา และวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อทราบ รายงานผลการดำเนินงาน ปี ๒๕๖๐ ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
จว.ที่พบผู้เสพมากที่สุด ทหารเกณฑ์พบสาร / 3,211 คน (มท.) ผลการตรวจปัสสาวะผู้เข้ารับการตรวจเลือกทหารกองเกินฯ ปี 60 และการดำเนินงานนำผู้พบสารเข้ารับการบำบัด (30 ก.ย. 60) กลุ่มเป้าหมาย 493,140 ราย ผลการนำเข้าข้อมูล 17,584 ราย (ร้อยละ 58.43) ตรวจปัสสาวะ (รวม กทม.) 380,746 ราย (77.21 %) ใบดำ 14,950 ใบแดง 3,399 บำบัดแล้ว 18,349 ราย ร้อยละ 60.98 ค่าย 9,426 รพ. 5,055 อื่นๆ 469 ค่ายทหาร 2,789 ค่าย 380 รพ. 204/อื่นๆ 26 พบสารเสพติด (รวม กทม.) 30,089 ราย (7.9 %) ภ.1 ภ.2 ภ.3 ภ.4 ภ.5 ภ.6 ภ.7 ภ.8 ภ.9 กทม. ผู้เสพ 2,090 1,569 4,772 8,099 2,214 3,114 1,419 2,663 3,923 226 บำบัด 977 1,158 3,362 4,146 2,119 1,815 1,012 1,705 1,909 146 จว.ที่พบผู้เสพมากที่สุด สัดส่วน% ยะลา 30.56% นราฯ 23.30% กาฬสินธุ์ 20.89% สุราษฎร์ 17.45% พังงา 17.40% จำนวน/คน สงขลา 1,836 อุดร 1,744 อุบล 1,547 กาฬสินธุ์ 1,424 ศรีสะเกษ 945 ทหารเกณฑ์พบสาร / 3,211 คน (มท.) อุดร 188 สงขลา 159 เชียงใหม่ 150 สุราษฏร์ 124 นครศรี 115
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1) การประสานงาน - เป็นภารกิจเร่งด่วน ทำให้ขาดการเตรียม ความพร้อมคน-ขาดการชี้แจง อุปกรณ์-ชุดตรวจ และการรายงานผล-ขาดการชี้แจง - โดยเฉพาะพื้นที่ กทม. ไม่มีหน่วยงานหลักในการประสานงานและให้ข้อมูล
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 2) การตรวจปัสสาวะ - บางพื้นที่ตรวจคนจับใบดำใบแดง - บางพื้นที่สุ่มตรวจ เนื่องจากกลัวเสียเวลา - บางพื้นที่ตรวจเฉพาะผู้ได้ใบดำ หรือใบแดง - บางพื้นที่ตรวจและไม่รับผู้พบสารเข้าเป็นทหาร - บางพื้นที่ไม่ให้ตรวจ
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) การเก็บข้อมูล รายงานผลการดำเนินงาน และการบันทึกข้อมูล - พื้นที่บางแห่งไม่ได้เก็บข้อมูล หรือเก็บ ก็ไม่ครบถ้วนตามแบบฟอร์ม เช่น เลข 13 หลัก ที่อยู่ปัจจุบัน อาชีพ - การรายงานผลตรวจปัสสาวะข้อมูลไม่ตรงกัน
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 3) การเก็บข้อมูล รายงานผลการดำเนินงาน และการบันทึกข้อมูล (ต่อ) - ปี 2560 ไม่มีการบันทึกข้อมูลในระบบรายงาน สำนักงาน ป.ป.ส. จึงได้ขอข้อมูลจาก มท. มาดำเนินการบันทึกเอง
ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. หน่วยงานส่วนกลาง ประสานความร่วมมือ ระดับกรม/กอง และแจ้งหน่วยใต้บังคับบัญชาระดับพื้นที่ให้ทราบแนวทางปฏิบัติอย่างชัดเจน 2. แจ้งแนวทางปฏิบัติให้หน่วยปฏิบัติในระดับพื้นที่ทราบภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 3. รูปแบบการรายงาน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา 1. เป้าหมายในการดำเนินงาน 1.1 ตรวจทุกคน จำนวน 480,240 คน 1.2 สารเสพติดที่จะดำเนินการตรวจ 1) เมทแอมเฟตามีน 2) กัญชา 2. ชุดทดสอบปัสสาวะ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 14 แห่ง สนับสนุน - ศอ.ปส.จ. ประสานเพื่อขอรับชุดทดสอบ -พิจารณาเป้าหมายกัญชา –เมท
ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา 3. (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานการตรวจ หาสารเสพติดในปัสสาวะฯ 3.1 ศป.ปส.อ./เขต จัดตั้งคณะทำงาน 3.2 ชี้แจง/มอบหมายหน้าที่ 3.3 ขั้นตอนการปฏิบัติ
สถานบำบัดฟื้นฟูฯ/กรณีไม่มา แบบ บ.108-2557-4 แบบ ข. ขั้นตอนการปฏิบัติ รายงานตัว ตรวจร่างกาย รอเรียกจับใบดำใบแดง จับใบดำใบแดง เฉพาะใบแดง **ปกครอง** - ตรวจปัสสาวะพร้อมบันทึกผลแบบ บ.108-2557-1 *สาธารณสุข* - รับแบบ บ.108-2557-2 - คัดกรองตามแบบคัดกรอง และแบบ V.2 - แบบ บ.108-2557-5 ใบดำ ใบแดง กองทัพดำเนินการ *ปกครอง* - บันทึกข้อมูลในระบบ NISPA ผลลบ ผลบวก สถานบำบัดฟื้นฟูฯ/กรณีไม่มา แบบ บ.108-2557-4 แบบ ข. *ปกครอง* - จัดทำแบบ บ.108-2557-2 และแบบคัดกรอง จัดเก็บตัวอย่างปัสสาวะ - ตรวจสอบประวัติบำบัดฟื้นฟูฯ รับรองผลในขั้นที่ 2 ในพื้นที่ นอกพื้นที่
ขั้นตอนการดำเนินงาน ประชุมหารือแนวทาง 5 ม.ค.61 ป.ป.ส. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สรุปแนวทางการดำเนินงาน/แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ - ศอ.ปส.จ./เขต ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ในระดับพื้นที่ - ศอ.ปส.จ. ประสานศูนย์วิทย์ฯ 14 แห่ง จัดทำ (ร่าง)แนวทางการดำเนินงาน ประชุมหารือแนวทาง 5 ม.ค.61 มท. แจ้งจำนวนเป้าหมาย แจ้งเป้าหมาย กรมวิทย์ฯ ขอรับการสนับสนุน ชุดตรวจ ศป.ปส.อ./เขต จัดตั้งทีมบูรณาการ ศป.ปส.อ./เขต ดำเนินการปฏิบัติ วันที่ 1 – 12 เม.ย.61 ศป.ปส.อ./เขตบันทึกข้อมูล NISPA และ ส่งต่อข้อมูล อำเภอ/รพ./กองทัพ บำบัดฯ ตามสภาพ การเสพติด ศป.ปส.อ./เขต ติดตามข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัด และแจ้งเตือนผู้ไม่เข้าบำบัด
แผนการดำเนินงาน กิจกรรม เดือน - สรุปการประชุมหารือ 15 ม.ค.61 - จัดทำแนวทาง+ส่งเอกสารให้หน่วยพิจารณา - เตรียมซักซ้อมความเข้าใจ VDO Conference กลางเดือนมีนาคม - ศอ.ปส.จ. ประสานขอรับการสนับสนุน ปลายเดือนมีนาคม - ดำเนินการตรวจหาสารเสพติดในปัสสาวะ 1-12 เมษายน 2561 - ศป.ปส.อ. บันทึกข้อมูลในระบบ ภายใน 30 เม.ย.61 - รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารทราบ ต้น พ.ค.2561