คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
12. การบันทึกข้อมูลลงในตาราง
Advertisements

กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
นางสาวปทุมวัลย์ เตโช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัด ลำพูน พฤติกรรมในการใช้บริการ อินเตอร์เน็ตศูนย์วิทยบริการ ของนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ.
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
Entity-Relationship Model E-R Model
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
Database & DBMS Architecture วรวิทย์ พูลสวัสดิ์. 2 2 ฐานข้อมูล (Database) - Data and its relation - Databases are designed to offer an organized mechanism.
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
Lab04 : การใช้โปรแกรม บรรณานุกรมพื้นฐาน EndNote X7 อ. อภิพงศ์ ปิงยศ สาขาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (BIS)
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
DBMS (Database Management System)
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
BC320 Introduction to Computer Programming
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
ลักษณะภาษาบาลีสันสกฤตเทียบกับภาษาไทย
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
คำสั่งสร้างฐานข้อมูล
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update 3602801 ระบบฐานข้อมูล คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์

เนื้อหา คำสั่ง Create คำสั่ง Insert คำสั่ง Delete คำสั่ง Update

คำสั่ง CREATE 1. คำสั่งที่ใช้ในการสร้างตาราง คำสั่งที่ใช้ในการสร้างตาราง CREATE TABLE โดยกำหนดชื่อคอลัมน์ในตาราง ชนิดข้อมูล คีย์หลัก คีย์อ้างอิง และ เงื่อนไข โดยคำสั่งมีรูปแบบดังนี้ CREATE TABLE ชื่อตาราง (ชื่อคอลัมน์ ชนิดข้อมูล [เงื่อนไข], ชื่อคอลัมน์ ชนิดข้อมูล [เงื่อนไข], ... [,PRIMARY KEY (ชื่อคอลัมน์)] [,FOREIGN KEY (ชื่อคอลัมน์) REFERENCES ชื่อตารางที่อ้างอิง] );

คำสั่ง CREATE ตัวอย่าง CREATE TABLE Supplier (Sno CHAR(5) NOT NULL, Sname VARCHAR(20) NOT NULL, City VARCHAR(15) NOT NULL, PRIMARY KEY (Sno) );

คำสั่ง CREATE ตัวอย่างข้างต้น สร้างตารางชื่อ Supplier ซึ่งประกอบด้วย คอลัมน์คือ Sno, Sname และ City ซึ่งมีชนิดข้อมูลเป็นตัวอักษรแบบ CHAR และ VARCHAR โดยกำหนดเงื่อนไข NOT NULL คือ ไม่ยอมให้ข้อมูลที่เก็บในคอลัมน์เหล่านี้มีค่าเป็นค่าว่าง และกำหนดให้ Sno เป็นคีย์หลัก

คำสั่ง CREATE CREATE TABLE SupplierProduct (Sno CHAR(5) NOT NULL, Pno CHAR(5) NOT NULL, PRIMARY KEY (Sno,Pno), FOREIGN KEY (Sno) REFERENCES Supplier, FOREIGN KEY (Pno) REFERENCES Product);

คำสั่ง CREATE ตัวอย่างข้างต้นเป็นคำสั่งเพื่อสร้างตารางเช่นเดียวกัน แต่มีการกำหนดคีย์อ้างอิงด้วยส่วนของคำสั่ง FOREIGN KEY เพื่อการอ้างอิงไปยังตาราง Supplier และตาราง Product

คำสั่ง INSERT

VALUES (‘555’,‘วันวิสา แสงขำ’, ‘DB’); คำสั่ง INSERT 1. การเพิ่มข้อมูล ภาษา SQL ใช้คำสั่ง INSERT ใช้ในการเพิ่มรายการข้อมูลในตาราง 1.1 เพิ่มข้อมูลรายการเดียว INSERT INTO Staff VALUES (‘555’,‘วันวิสา แสงขำ’, ‘DB’);

คำสั่ง INSERT คำสั่ง INSERT ตามรูปแบบข้างตน จะเพิ่มหนึ่งรายการในตาราง Staff โดยรายการที่เพิ่มอยู่ภายในวงเล็บ ประกอบด้วยค่าของแต่ละคอลัมน์ซึ่งคั่นด้วยเครื่องจุลภาค และบันทึกเข้าสู่ตารางเรียงตามลำดับของคอลัมน์ในโครงสร้างของตาราง ได้ผลเป็นตารางที่มี 5 รายการ จากเดิม 4 รายการ

คำสั่ง INSERT

คำสั่ง INSERT 1.2 เพิ่มข้อมูลหลายรายการ INSERT INTO Staff VALUES (‘555’,‘วันวิสา แสงขำ’,‘DB’), (‘999’,‘วันชัย มีโชค’,‘DB’),;

คำสั่ง INSERT คำสั่ง INSERT เพียงคำสั่งเดียวนี้ เพิ่มข้อมูลถึงสองรายการในตาราง Staff แต่ละรายการที่เพิ่มกำหนดไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บ คั่นระหว่างวงเล็บด้วยเครื่องหมายจุลภาค ได้ผลเป็นตารางที่มี 6 รายการ จากเดิม 4 รายการ

คำสั่ง INSERT

คำสั่ง INSERT 1.3 เพิ่มข้อมูลไม่ครบทุกคอลัมน์ INSERT INTO Staff(sid, pcode) VALUES (‘555’, ‘DB’);

คำสั่ง INSERT คำสั่ง INSERT นี้ มีความแตกต่างจากข้างต้น ที่มีเครื่องหมายวงเล็บที่กำหนดชื่อคอลัมน์หลังชื่อตาราง นั่นคือ เมื่อเพิ่มข้อมูลโดยระบุค่าไม่ครบทุกคอลัมน์ จะต้องกำหนดชื่อคอลัมน์ เพื่อบันทึกข้อมูลลงคอลัมน์ตามลำดับได้อย่างถูกต้อง ตารางจะมีรายการที่เพิ่มขึ้น

คำสั่ง INSERT

ภาษา SQL ได้กำหนดคำสั่ง DELETE ในการลบข้อมูลจากตาราง 2. การลบข้อมูล ภาษา SQL ได้กำหนดคำสั่ง DELETE ในการลบข้อมูลจากตาราง 2.1 ลบข้อมูลทั้งหมดจากตาราง DELETE FROM Staff;

คำสั่ง DELETE คำสั่ง DELETE จะลบข้อมูลทั้งหมดทุกรายการจากตาราง Staff ภายหลังการทำงานตามคำสั่งนี้ ตาราง Staff จะไม่มีข้อมูลอยู่อีกเลย แต่โครงสร้างของตารางที่สร้างขึ้นจากคำสั่ง CREATE TABLE ยังคงอยู่

คำสั่ง DELETE 2.2 ลบข้อมูลบางรายการจากตาราง DELETE FROM Staff; WHERE pcode = ‘PR’;

คำสั่ง DELETE คำสั่ง DELETE นี้ มีการกำหนดเงื่อนไข โดยใช้ส่วนของคำสั่ง WHERE เช่นเดียวกับที่ใช้ในคำสั่งสอบถามข้อมูล SELECT ดังนั้น จึงลบข้อมูลจากตาราง Staff เฉพาะรายการที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด คือ pcode เป็น ‘PR’ ซึ่งมี 2 รายการ ได้ผลเป็นตารางที่คงเหลือเพียง 2 รายการ

คำสั่ง DELETE

คำสั่ง UPDATE 3. การปรับปรุงข้อมูล การปรับปรุงแก้ไขข้อมูลที่มีอยู่แล้วในตาราง สามารถทำได้โดยใช้คำสั่ง UPDATE 3.1 ปรับปรุงทุกรายการ UPDATE PositionRate SET rate = rate + 200;

คำสั่ง UPDATE คำสั่ง UPDATE มีวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงข้อมูลทุกรายการในตาราง PositionRate โดยปรับปรุงคอลัมน์ rate ให้มีค่าเพิ่มขึ้น 200 จากเดิม ทำให้คอลัน์ rate ในตารางนี้ปรับปรุง

คำสั่ง UPDATE

คำสั่ง UPDATE 3.2 ปรับปรุงบางรายการ UPDATE PositionRate SET rate = rate + 200; WHERE pcode = ‘PR’;

คำสั่ง UPDATE คำสั่ง UPDATE นี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงข้อมูลในตาราง PositionRate โดยปรับปรุงคอลัมน์ rate ให้มีค่าเพิ่มขึ้น 200 จากเดิม เฉพาะรายการที่ มีรหัสตำแหน่งเป็น ‘PR’ เท่านั้น จึงทำให้มีการปรับปรุงตารางเพียงรายการเดียว การกำหนดเงื่อนไขนั้น ใช้ส่วนของคำสั่ง WHERE

คำสั่ง UPDATE