การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

วิเคราะห์ฐานข้อมูลของไทย ฐานข้อมูล Journal Link โดย น. ส. สุกัญญา ประทุม.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี

การติดตามประเมินผล และรายงาน.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )

ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
1. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่อง่ายต่อการบันทึกและ การออกรายงาน 2. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่ออำนวยความสะดวก ให้แก่บุคลากรภายในศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ณ โรงแรมเดอะ รอยัล เจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท จ.นครปฐม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มเกษตรกร.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
กองแผนงานและวิชาการ & ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
นางสาวรตยา พนมวัน ณ อยุธยา นางสาววิไลลักษณ์ ดวงบุปผา
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
Google Scholar คืออะไร
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์บทความวารสารระดับนานาชาติ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 : Together We Share , 9-10 มกราคม 2562

วัตถุประสงค์ รวบรวมรายชื่อวารสารวิชาการสำหรับ ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานในระดับ นานาชาติ จาก ฐานข้อมูล ISI Web of Science และ SCOPUS พร้อมข้อมูลแสดง มาตรฐานคุณภาพของวารสารที่เป็น สากล พัฒนาระบบฐานข้อมูลช่วยค้นแหล่ง ตีพิมพ์บทความวิชาการที่เผยแพร่ใน ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ สำหรับ บริการแก่ผู้ใช้ให้เข้าถึงได้สะดวก รวดเร็วทันกับความต้องการ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ขั้นตอนการดำเนินงาน วิเคราะห์ความเป็นไปได้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างประเทศ ศึกษาหลักเกณฑ์คุณภาพผลงานฯและคัดเลือกข้อมูล เตรียมข้อมูลจาก 2 แหล่ง คือ Scimago Journal & Country Rank และ Journal Citation Reports ออกแบบและพัฒนาระบบ ทั้งส่วนของผู้ใช้และผู้ดูแลระบบ ทดสอบระบบ และ ปรับปรุงแก้ไขระบบ ประเมินผลการทำงานและการใช้งานของผู้ใช้ Clarivate Analytics (Web of Science), 2018 ; RELX Group (SCOPUS), 2018; Scimago Lab & SCOPUS, 2018 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ พ.ศ 2561 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ 2560

ศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างประเทศ เช่นระบบ Journal Finder ของ Edanz, Elsevier ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพผลงานของ มหาวิทยาลัยนเรศวร หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และขอรับรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ตามประกาศมหาวิทยาลัย 1. อ้างอิงค่า Impact Factor จาก Journal Citation Reports และค่า Quartile จากฐานข้อมูล ISI Web of Science 2. อ้างอิงค่า Quartile จาก Scimago Journal & Country Rank ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การรับทุนสนับสนุนค่าตีพิมพ์และรางวัลตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ พ.ศ 2561 ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง หลักเกณฑ์การให้เงินสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ 2560 ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ขั้นตอนเตรียมข้อมูล ดาวน์โหลดข้อมูลของวารสารจาก แหล่งข้อมูลต้นฉบับ ตามเขตข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ ชื่อวารสาร, ISSN, คำสำคัญ, Publisher, ค่า Journal Impact Factor และ ค่า Quartile Export ข้อมูลออกมา แล้วนำไฟล์มาปรับปรุง แก้ไขข้อมูล แปลงข้อมูลดิบจากแหล่งเดิม เข้าสู่ไฟล์ Excel (ไฟล์ csv ) นำข้อมูลส่วนหนึ่งไปทดลองนำเข้าสู่ ฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้น ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

การเตรียมข้อมูลจาก ISI Web of Science ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

JCR2017 Q1 จำนวน 3,158 ระเบียน JCR2017 Q2 จำนวน 3,629 ระเบียน ข้อมูลที่ได้จาก Journal Citation Reports ประกอบด้วยข้อมูลค่า Journal Impact Factor ปี 2017 (ล่าสุด) นำมาแยกตามค่า Quartile ตั้งแต่ Q1 ถึง Q4 รวมทั้งหมด 14,029 รายการ ดังนี้ JCR2017 Q1 จำนวน 3,158 ระเบียน JCR2017 Q2 จำนวน 3,629 ระเบียน JCR2017 Q3 จำนวน 3,653 ระเบียน JCR2017 Q4 จำนวน 3,589 ระเบียน ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

การเตรียมข้อมูลจาก Scimago ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

Quartile1 จำนวน 7,101 ระเบียน ข้อมูลที่ได้จาก Scimago Journal & Country Rank แยกตาม Quartile ตั้งแต่ Q1 ถึง Q4 จำนวน 24,624 รายการ จำแนกตาม Quartile ดังนี้ Quartile1 จำนวน 7,101 ระเบียน Quartile2 จำนวน 6,031 ระเบียน Quartile3 จำนวน 5,862 ระเบียน Quartile4 จำนวน 5,630 ระเบียน ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาระบบ 1. วิเคราะห์และสรุปความต้องการของบรรณารักษ์ผู้ใช้งานระบบ เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้ระบบ โดยใช้เครื่องมือดังนี้ 2.1 ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ HTML, PHP, Javascript และ SQL 2.2 ระบบฐานข้อมูล ใช้ Mysql Database 2.3 โปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนา โปรแกรม Notepad++ โปรแกรม MySQL-Font 2.4 เครื่องมือช่วยในการพัฒนา Frontend Framework Bootstrap JavaScript Framework AngularJS ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

3. ออกแบบฐานข้อมูล ตารางเก็บข้อมูลวารสาร ประกอบด้วยเขตข้อมูล (Field) ดังนี้ ID Number เลข ISSN คำสำคัญ ชื่อสำนักพิมพ์ ข้อมูลค่า Impact Factor และ ISI Quartile (จาก Clarivate Analysis), ข้อมูลค่า SJR Quartile (จาก Scimago Journal Ranking ของ SCOPUS), ชื่อย่อของวารสาร (Abbreviated), กลุ่มสาขา (Categories) URL Address ของวารสาร 2. ตารางเก็บประเภทของวารสาร ประกอบด้วยเขตข้อมูล ได้แก่ ID, ชื่อ แหล่งข้อมูลวารสาร และเชื่อมโยงกับตารางเก็บข้อมูลวารสาร 3. ตารางเก็บข้อมูลผู้ดูแลระบบ ประกอบด้วยเขตข้อมูล ID, ชื่อผู้ใช้ที่เป็น ผู้ดูแลระบบ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

4. ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ 4. ออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ ขั้นตอนการออกแบบ แบ่งหน้าเว็บไซต์ออกเป็น 2 ส่วน 4.1 ส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป ประกอบด้วยฟังก์ชั่นค้นหาข้อมูล จากเขตข้อมูล ตามที่อยู่ในตารางเก็บข้อมูลดังนี้ ID Number เลข ISSN คำสำคัญ ชื่อสำนักพิมพ์ ข้อมูลค่า Impact Factor และ ISI Quartile ข้อมูลค่า SJR Quartile ชื่อย่อของวารสาร กลุ่มสาขา URL Address ของวารสาร ชื่อวารสาร คำค้น (Keyword) ISSN 4.2 ส่วนของผู้ดูแลระบบ เหมือนส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป แต่มีฟังก์ชั่นเพิ่มเติม คือ เพิ่มข้อมูลชื่อวารสาร แก้ไขข้อมูลวารสาร และลบข้อมูลวารสาร โดยมีการป้อน ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านในการเข้าสู่ระบบ

ส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ส่วนของผู้ดูแลระบบ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ตัวอย่าง หน้าเว็บไซต์ฐานข้อมูลสำหรับผู้ใช้ http://10.10.26.52/m/journalif/ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ตัวอย่าง หน้าเว็บไซต์ฐานข้อมูลสำหรับผู้ปฎิบัติงาน ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

5. ทดสอบระบบ และเริ่มใช้งาน 5. ทดสอบระบบ และเริ่มใช้งาน บรรณารักษ์นำข้อมูลบางส่วน และรายละเอียดของเขตข้อมูลที่ต้องการส่งให้โปรแกรมเมอร์ ได้แก่ แสดงผลแบบย่อ และแบบละเอียด 2. การทดสอบส่วนการสืบค้นของผู้ปฏิบัติงาน และส่วนการสืบค้นของ ผู้ใช้บริการ นำข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์มากที่สุด นำระบบไปใช้งาน เปิดใช้งานในช่วงเดือนธันวาคม 2561 ประเมินผลการใช้ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

การทำงานหลังจากมีระบบฐานข้อมูล ผลของการศึกษา การให้บริการสนับสนุนวิจัยของห้องสมุดมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสรุปข้อแตกต่างจากวิธีการทำงานแบบเดิมได้ ดังนี้ การทำงานแบบเดิม 1. รูปแบบการทำงานแบบเดิม ต้องใช้เวลาค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ไม่ต่ำกว่า 4 แหล่ง ทำให้ใช้เวลานานในการค้นหาข้อมูล เพื่อส่งข้อมูลให้ผู้ใช้บริการ 2. การทำงานแบบเดิม เป็นการให้บริการที่บรรณารักษ์ดำเนินการให้แก่ผู้ใช้โดยตรง และดำเนินการได้เฉพาะบรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบบริการสนับสนุนวิจัย 3. การทำงานแบบเดิม เป็นการใช้งานจากแหล่งข้อมูลภายนอก หากเว็บไซต์ต้นแหล่งมีปัญหาขัดข้อง ผู้ให้บริการจะไม่สามารถค้นข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ได้ทันตามต้องการ การทำงานหลังจากมีระบบฐานข้อมูล ช่วยค้นแหล่งตีพิมพ์ 1. บรรณารักษ์ใช้เวลาในการค้นข้อมูลน้อยลง โดยสามารถค้นได้จากทั้ง 2 แหล่งในเว็บไซต์เดียว ทำให้ลดขั้นตอนการหาข้อมูล และนำส่งข้อมูลแก่ผู้ใช้ได้รวดเร็วขึ้น 2. ผู้ใช้บริการ เช่น อาจารย์ นิสิตบัณฑิตศึกษา สามารถช่วยตัวเองในการค้นหาแหล่งตีพิมพ์ได้ตรงตามต้องการ และไม่ต้องเสียเวลาในการรอคอยคำตอบกรณีเร่งด่วน หรือเมื่อบรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานไม่อยู่ บรรณารักษ์ท่านอื่นสามารถดำเนินการแทนได้ โดยใช้ระบบฐานข้อมูลช่วยค้นฯ เป็นเครื่องมือ 3. บรรณารักษ์ หรือผู้ให้บริการสามารถค้นข้อมูลแหล่งวารสารสำหรับตีพิมพ์ได้ตามต้องการเวลาใดก็ได้ แม้กรณีระบบการสืบค้นจากต้นแหล่งขัดข้อง เนื่องจากข้อมูลถูกจัดเก็บไว้ที่ห้องสมุด จึงสามารถค้นด้วยตนเองได้ตลอดเวลา ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ประโยชน์ที่ได้รับ ช่วยปรับปรุงกระบวนการให้บริการ ทำให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ด้วยตนเองและ รวดเร็วขึ้น จากเดิมที่ผู้ใช้บริการต้องรอรับข้อมูลตอบกลับผ่านอีเมล์ ช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ที่ต้องการจำกัดผลการค้นหรือค้นเฉพาะเจาะจง เช่น เลือกวารสารระดับมาตรฐานสูงหรือระดับรองลงมา หรือ ค่า Impact Factor /ค่า Quartile ในระดับที่สูงหรือต่ำตามต้องการ หรือเลือกวารสารข้ามกลุ่มสาขาได้ 3. ใช้ฐานข้อมูลนี้เป็นเครื่องมือสำหรับบุคลากรผู้ปฏิบัติงานส่วนหน้า หรือเคานเตอร์ยืมคืน ให้สามารถแนะนำข้อมูลแก่ผู้ใช้ หรือสับเปลี่ยนหมุนเวียนงานแทนกันได้ 4. บุคลากรหน่วยงานอื่นที่รับผิดชอบด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย เช่น กองบริหารการวิจัย หรือผู้ประสานงานด้านวิจัยของคณะต่างๆ สามารถใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูลฯนี้ เพื่อการให้บริการข้อมูลเบื้องต้นให้แก่อาจารย์ นักวิจัยได้ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

(Enter your own creative tag line above) ข้อเสนอแนะ และคำถาม (Enter your own creative tag line above) ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562

ขอบคุณค่ะ ศศิธร ติณะมาศ พงศกร ศิริคำน้อย PULINET 9th Together We Share, 9-10 มกราคม 2562