การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Sustainable Healthcare & Health Promotion
Advertisements

 ยุทธศาสตร์  การเงินการคลัง  กำลังคน  จัดซื้อร่วม.
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
คณะกรรมการบริหารการเงินการคลังเขตสุขภาพที่ 10 9 กันยายน 2558 สรุปผลการดำเนินงานปี 2558 และทิศทางปี 2559 Project Manager CFO Project Manager CFO เขตสุขภาพที่
1. 2 สรุปผลการดำเนินงานของคณะทำงานพัฒนา คุณภาพ / วิชาการและงานวิจัย เขตสุขภาพที่ 11 ปีงบประมาณ
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
รายชื่อสมาชิก. นางสาว ภัสราพร ผาระขันธ์. รหัส
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
การพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การส่งเสริมสุขจิต วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
ทีมสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย
ระบบฐานข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อมประเทศไทย
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน ตามแผนบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
Mr. Chaiwat Tawarungruang
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
Animal Health Science ( )
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย
EHA กรมอนามัย การดำเนินงานของกลุ่ม อวล + เลขานุการอสธจ. การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ให้ข้อมูล ให้ความรู้ ปกป้องสิทธิ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
กลุ่มที่ 6 อนามัยสิ่งแวดล้อม.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
การบูรณาการการปฏิบัติงานด้านกากอุตสาหกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
โรงพยาบาลนนทเวช.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว
การดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล :Update องค์ความรู้ (Violence)
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รอบที่ 1 ของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี เขตตรวจราชการที่ 15 นางประภาศรี บุญวิเศษ การบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

สถานการณ์การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ แหล่งกำเนิดมูลฝอยติดเชื้อ เก็บ ขน โดยเอกชน อปท.ดำเนินการ กำจัด สถานพยาบาลสัตว์ 124 แห่ง (14.45%) คลินิกคน/ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย 415 แห่ง (48.65%) ระบบกำกับการขนส่ง (Manifest System) เตาเผา เอกชน จ.นครสวรรค์ เก็บ ขน โดยเอกชน โรงพยาบาล รัฐ 33 แห่ง (3.87%) เอกชน 14 แห่ง (1.64%) รพ.สต. 267 แห่ง (14.54%) รพ.แม่ข่าย การทำลายเชื้อด้วยไอน้ำ 1 แห่ง ในชุมชน หมู่บ้าน กำจัดเอง ณ แหล่งกำเนิด เตาเผา รพ. 8 แห่ง จาก 33 แห่ง (24.24%) 1.การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยผ่านกระบวนการของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด 2.การตรวจประเมินคุณภาพระบบบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้มาตรฐานด้านการจัดการมูลฝอย (Environmental Health Accreditation : EHA)

ความเชื่อมโยงตัวชี้วัดกับประเด็นการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย โรงพยาบาลพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ เป้าหมาย : โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ./รพท./รพช. และรพ.สังกัดกรมวิชาการ) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 100

การกระจายค่าเป้าหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ รพศ. 1 แห่ง รพท. 2 แห่ง รพช. 21 แห่ง และ รพ.สังกัดกรมวิชาการ 5 แห่ง จำนวนโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (แห่ง) จำนวน รพ. ทั้งหมด รพช. รพท. รพศ. รพ.สังกัดกรมวิชาการ กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต รวม 21 2 1 - 5 29 จำนวนโรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สถานพยาบาล (แห่ง) จำนวน รพ. ทั้งหมด รพอ. คลินิก ทันตกรรม คลินิกเวชกรรม กรมแพทย์ทหารบก กรมแพทย์ทหารอากาศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวง ศึกษาธิการ สถานพยาบาลสัตว์ ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย 14 246 168 1 124 557

เป้าหมาย ผลการดำเนินงานปี 2560 (15 ก.พ. 2560) การจัดการมูลฝอยติดเชื้อโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขปี 2560 เป้าหมาย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านการประเมินมาตรฐาน การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ร้อยละ 100

การประเมินการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้ได้มาตรฐานตามกฎหมาย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (รพศ. รพท. รพช. และกรมวิชาการ) จำนวน 29 แห่ง

ปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 1. ด้านบุคลากร - ผู้รับผิดชอบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อไม่ได้รับการ แต่งตั้ง 2. ด้านที่พักมูลฝอยติดเชื้อ - บางแห่งไม่นำถังมูลฝอยติดเชื้อไว้ในห้องพักมูลฝอย ติดเชื้อ 3. ด้านการกำจัด - กรณีดำเนินการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อในเตาเผาของ โรงพยาบาล (1) ไม่มีการแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นของเทศบาล/ อบต.ที่ตั้งโรงพยาบาลตามกฎกระทรวง (2) ผู้รับผิดชอบการเผาขาดองค์ความรู้ในการเผาใน เตาเผาทำให้เกิดมีการร้องเรียนกลิ่นเหม็นและควัน

ปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปัญหาการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3. ด้านการกำจัด (ต่อ) - กรณีดำเนินการจ้างเอกชนรับไปกำจัด (1) ไม่มีการแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นของเทศบาล/อบต. ที่ตั้งโรงพยาบาลตามกฎกระทรวง (2) บางแห่งไม่มีสัญญาจ้าง

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 1. ควรมีการแจ้งเทศบาล/อบต.ที่ตั้งโรงพยาบาลให้ทราบถึง วิธีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของโรงพยาบาล 2. ควรให้ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อจาก แหล่งกำเนิดผ่านการอบรมหลักสูตรการป้องกันและระงับการ แพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจาก มูลฝอยติดเชื้อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3. โรงพยาบาลควรมีการแต่งเจ้าหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบใน การเก็บ หรือขนมูลฝอยติดเชื้ออย่างน้อย 1 คน โดยต้องมีคุณสมบัติ สำเร็จการศึกษา ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ในด้านสาธารณสุข สุขาภิบาล ชีววิทยาและวิทยาศาสตร์ การแพทย์ด้านใดด้านหนึ่ง

ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา 4. กรณีโรงพยาบาลมีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยการเผาเอง ต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้ออย่างน้อย 2 คน และต้องมีคุณสมบัติตามข้อ 1 และอีกคนหนึ่งต้องมีคุณสมบัติ สำเร็จการศึกษา ไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ในด้านสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและ วิศวกรรมเครื่องกล ด้านใดด้านหนึ่ง 5. กรณีจ้างเอกชนรับมูลฝอยติดเชื้อไปกำจัดควรมีการจัดทำ ระบบเอกสารกำกับการขนส่ง (Manifest System) เพื่อการ ตรวจสอบเส้นทางการกำจัดมูลฝอย ติดเชื้อจากต้นทางถึงปลายทาง 6. กรณีมูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาลสัตว์ จะต้องพัฒนา ให้เข้าระบบ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อต่อไป