สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
IT for Traveling & Shopping
Advertisements

หลักการนำเสนอผ่าน เว็บไซต์ Jataphum juanchai
Form Based Codes Presentation
สังคมออนไลน์ นนทลี วีรชัย สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ในการอบรมการวิจัย และเขียนบทความวิชาการจากงานประจำด้านสุขภาพช่องปาก มิย.53.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
TOP 5 THAI SOUVENIRS to buy in Thailand
ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นสู่ตลาด E-Commerce (OTOP Online)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
Minicase Padaso Plus Coffee.
บทบาทอำนาจหน้าที่และความสำคัญของคณะกรรมการหมู่บ้านในการพัฒนาหมู่บ้าน
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
ยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ
การศึกษา ปริญญาตรี - ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
Co-Create Charoenkrung
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
โครงการโรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่โรงเรียน)
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
“สัมมนา 1 (Seminar I)” จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยพะเยา ณ อาคารเวฟเพลส ชั้น 8 วันเสาร์ที่ 19 กันยายน 2558 เวลา – น. โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
MPLUS SEXPERT.
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การสื่อสารและการใช้ภาษาไทย
ฝ่ายกิจกรรม ปีการศึกษา 2560
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
“สัมมนา 1 (Seminar I)” Part 1 การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย Part 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมกับธุรกิจท่องเที่ยว จัดโดย วิทยาลัยการจัดการ.
รายละเอียดตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
ผลการเข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติและเสวนาวิชาการ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
ทิศทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนากำลังคนรายจังหวัด
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ส่วนการเงิน กองการเงินและบัญชี
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
ASEAN-Swiss Partnership for Social Forestry and Climate Change
การประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้และสังเคราะห์บทเรียน 3 ปี
ข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร สำหรับแผงลอยจำหน่ายอาหาร
สรุปงาน กศน.อำเภอไพศาลี ประจำเดือน มกราคม 2559
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การมอบนโยบายการขับเคลื่อน
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
การจัดการข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของโรงเรียน
มนุษยสัมพันธ์ ในการทำงาน
ประมวลภาพงานวันป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๕๗ รำลึกครบรอบ ๑๐ ปี สึนามิ เหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ อนุสรณ์สถานสึนามิบ้านน้ำเค็ม.
การจัดการเครือข่ายสังคมออนไลน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน โครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

ชุมชนท่องเที่ยวระดับจังหวัด เสริมสร้างเสน่ห์ชุมชน 1. ประกวด และ พัฒนาต่อยอด คัดเลือกชุมชน ท่องเที่ยวต้นแบบ ทุนต่อยอด 50 หมู่ละ ๆ ละ 500,000 บาท 50 หมู่บ้าน คัดเลือก ชุมชนท่องเที่ยวระดับจังหวัด ทุนต่อยอด 110 หมู่บ้านๆ ละ 200,000 บาท 160 หมู่บ้าน พัฒนาผลิตภัณฑ์ เสริมสร้างเสน่ห์ชุมชน สร้างตลาดภายใน พัฒนาต่อยอด โดย ททท. 1,000 หมู่บ้าน 3,273 หมู่บ้าน จำแนกศักยภาพ เพื่อการพัฒนาต่อยอดได้ตรงเป้า และ ส่งเสริมการตลาดตามกลุ่มลูกค้า งบประมาณ 86,000,000 บาท ส่วนกลาง กิจกรรมประกวดต้นแบบ 160 หมู่บ้าน 5,522,000 บาท ภูมิภาค กิจกรรมประกวดระดับจังหวัด 3,273 หมู่บ้าน 33,478,000 บาท ภูมิภาค กิจกรรมต่อยอดพัฒนาชุมชน 160 หมู่บ้าน 47,000,000 บาท

กิจกรรมที่ 1 ประกวด OTOP นวัตวิถี ระดับจังหวัด ผวจ.หรือรองผวจ.ที่ได้รับมอบหมายเป็นประธาน/ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด / พาณิชย์จังหวัด/วัฒนธรรมจังหวัด/ ประชาสัมพันธ์จังหวัด /ผู้แทนสถาบันการศึกษา / ประธานหอการค้าจังหวัด / ประธานกรรมการ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำกัด / สื่อมวลชน หรือหน่วยงาน องค์กร ชมรม สมาคมที่เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ / พัฒนาการจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ และหัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม จังหวัด ดำเนินการ 1. ศึกษา ทำความเข้าใจคู่มือบริหารโครงการฯ และ เกณฑ์การประกวดชุมชนท่องเที่ยวฯ 2. ชี้แจงแนวทางการประกวด ระดับจังหวัด ให้อำเภอรับทราบ พร้อมแจ้งชุมชนจัดทำและส่งเอกสารประกอบการประกวดขนาด A4 ไม่น้อยกว่า 20 หน้า และสื่อวีดิทัศน์ความยาว 3 นาที ให้จังหวัด 3. แต่งตั้งคณะกรรมการประกวดฯ ระดับจังหวัด ผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคราชการ สถาบันการศึกษา ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จำนวน 11 คน ประกอบด้วย 4. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการประกวดฯ ระดับจังหวัด 5. คณะกรรมการประกวดฯ ระดับจังหวัด พิจารณาเอกสารและสื่อวีดิทัศน์ประกอบ การประกวดและคัดเลือกชุมชนจาก จำนวน 3,273 ชุมชน ให้เหลือ 160 ชุมชน 6. ประชุมคณะกรรมการประกวดฯ ระดับจังหวัดเพื่อสรุปผลการประกวดและประกาศผล 7. รายงานผลการดำเนินงาน ส่งให้กรมฯ และบันทึก BPM 33,478,000 บาท งบประมาณ ระยะเวลา ภายในวันที่ 3 ส.ค. 61

กิจกรรมที่ 2 ประกวด OTOP นวัตวิถีต้นแบบ ผู้ตรวจราชการกรม เป็นประธาน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการท่องเที่ยวและ/หรือที่เกี่ยวข้อง ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ทำหน้าที่เป็นกรรมการและเลขานุการ และเจ้าหน้าที่ของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกรม ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ส่วนกลาง ดำเนินการ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการประกวดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีต้นแบบ ตามเกณฑ์ จำนวน 11 คณะ ประกอบด้วย 2. รวบรวมผลการประกวดฯ ระดับจังหวัด เอกสารและสื่อวีดิทัศน์ประกอบการประกวดจากจังหวัด จัดทำทะเบียนผลการประกวด ก่อนส่งมอบให้คณะกรรมการประกวดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีต้นแบบ 3. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการประกวดฯ ต้นแบบ เพื่อสร้างความเข้าใจและวางแผน การประกวด 4. คณะกรรมการประกวดฯ ต้นแบบ ดำเนินการคัดเลือกชุมชน (พิจารณาจากเอกสารและสื่อวีดิทัศน์ การลงประเมินศักยภาพในพื้นที่ และการกดไลค์ กดแชร์ ในระบบ Social network) คัดเลือกชุมชนจาก จำนวน 160 ชุมชน ให้เหลือ 50 ชุมชน 5. ประชุมคณะกรรมการประกวดฯ ต้นแบบ เพื่อสรุปผลการประกวดและประกาศผล 6. สรุปและรายงานผลการดำเนินงานประกวดต่อผู้บริหาร และบันทึก BPM ขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม 5,522,000 บาท งบประมาณ ระยะเวลา 8 – 30 ส.ค. 61

กิจกรรมที่ 3 ต่อยอด OTOP นวัตวิถีระดับจังหวัด และนวัตวิถีต้นแบบ ส่วนกลาง ดำเนินการ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมให้กับจังหวัด - ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ระดับจังหวัด 110 ชุมชนๆ ละ 200,000 บาท - ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีต้นแบบ 50 ชุมชน ๆ ละ 500,000 บาท จังหวัด ดำเนินการ 1. แจ้งชุมชนเป้าหมาย ทั้ง 2 ระดับจัดทำแผนการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ตามข้อเสนอของคณะกรรมการประกวดฯ และความต้องการของชุมชน เพื่อนำมาพัฒนาต่อยอด และส่งแผนให้จังหวัดพิจารณา 2. จังหวัดจัดสรรงบประมาณให้กับชุมชนเป้าหมาย 3. จังหวัด/อำเภอ ติดตามและให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม 47,000,000 บาท งบประมาณ ระยะเวลา 31 ส.ค. – 30 ก.ย. 61

กำหนดแผนการดำเนินงาน จังหวัดส่งผลการประกวดให้กรมฯ 3 สิงหาคม 2561 (160 ชุมชน) ประชุมคณะกรรมการประกวดฯ ครั้งที่ 1 ๘ สิงหาคม 2561 คณะกรรมการฯ ลงพื้นที่ 10-24 สิงหาคม 2561 ประชุมคณะกรรมการประกวดฯ ครั้งที่ 2 28 สิงหาคม 2561 (50 ชุมชน) ประกาศผลการประกวดต้นแบบ 30 สิงหาคม 2561 รับรางวัลในงานแสดงผลสำเร็จ 12 กันยายน 2561

กิจกรรม ค่าใช้จ่าย จำนวนเงิน ประกวดจังหวัด ค่าจัดทำสื่อและเอกสารประกอบการประกวด 9,300 x จำนวนหมู่บ้าน ค่าวัสดุการประชุมคัดเลือก 5,000/จังหวัด ค่าใช้สอย (อาหาร อาหารว่าง พาหนะ) ประชุมคัดเลือก (ตามจำนวนพื้นที่) 4,850 x จำนวนวัน ค่าวัสดุและค่าใช้สอย (อาหาร อาหารว่าง พาหนะ) ประชุมชี้แจงและสรุปผล (1-80 ชุมชน) 20,300/จังหวัด (81-114 ชุมชน) 21,800/จังหวัด 33,478,000 ประชุมต้นแบบ (ศพช.) ค่าวัสดุลงพื้นที่ 10,000/ศูนย์ ค่าจ้างเหมารถ 6,300 x จำนวนวัน ค่าเบี้ยเลี้ยง/พาหนะ/ที่พัก จำนวนคณะกรรมการ x จำนวนวัน 2,969,600 ต่อยอดพัฒนา สนับสนุนงบประมาณ 110 ชุมชน x 200,000 สนับสนุนงบประมาณ 50 ชุมชน x 500,000 47,000,000 ส่วนกลาง จัดทำเอกสารการประกวด/ค่าใช้จ่ายในการประชุมเชิงปฏิบัติการ 2,552,400 รวมทั้งสิ้น 86,000,000

2. ส่งเสริมการตลาด กิจกรรมกระตุ้นรณรงค์กลุ่มเป้าหมายเดินทางท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี สื่อสาร สร้างการรับรู้สาธารณะ รายพื้นที่ สร้างกระแสส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชน วางทีม Blogger หรือสื่อมวลชนด้านการท่องเที่ยว เข้าเยี่ยมพื้นที่ บันทึกเรื่องราวชุมชน/ผลิตภัณฑ์ สร้างสรรค์งานสื่อ เชิญเที่ยวชุมชน เผยแพร่ผ่านสื่อสาธารณะ Rally OTOP ชุมชน 160 หมู่บ้าน เชิญ ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว นิสิต นักศึกษา สื่อมวลชน ท่องเที่ยว แนะนำ (ชุมชนละ 30 คน) ชม ชิม ช็อป พัก ใช้ แชะ แชร์ ที่หมู่บ้าน Blogger พาทัวร์ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 160 หมู่บ้าน งบประมาณ 49,360,000 บาท

กิจกรรมที่ 1 Rally OTOP ชุมชน ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ส่วนกลาง ดำเนินการ 1. ตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานรับผิดชอบ 2. กำหนดแนวทาง/รูปแบบกิจกรรม 3. ค้นหากลุ่มเป้าหมาย/กำหนดหลักเกณฑ์กลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม 4. ดำเนินการจัดหาผู้รับจ้าง ผู้รับจ้าง ดำเนินการ 5. จัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจแก่กลุ่มเป้าหมายก่อนลงพื้นที่ (กลุ่มเป้าหมาย 4,800 คน แบ่งการประชุมเป็น 16 รุ่น ๆ ละ 300 คน รุ่นละ 1 วัน) 6. ประสานจังหวัด อำเภอ ชุมชน ร่วมเตรียมความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย และออกแบบกิจกรรมสันทนาการในพื้นที่ 7. นำกลุ่มเป้าหมายลงพื้นที่ 160 ชุมชน ๆ ละ 30 คน จำนวน 2 วัน เพื่อให้กำลังใจและให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว และประเมินผลกิจกรรม ประกอบด้วย ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจด้านการท่องเที่ยว คณะนักเรียน นิสิต/นักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว Blogger สื่อมวลชนด้านการท่องเที่ยว ตัวแทนประชาชนที่สนใจด้านการท่องเที่ยว และชุมชนท่องเที่ยว จำนวน 160 ชุมชน 40,660,000 บาท งบประมาณ ระยะเวลา ระยะเวลา 60 วัน นับจากวันลงนามในสัญญา

กิจกรรมที่ 2 Blogger พาทัวร์ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ผู้รับจ้าง ดำเนินการ 1. หา Blogger หรือ สื่อมวลชนด้านการท่องเที่ยว ที่เป็นที่รู้จัก จำนวน 30 คน 2. สร้างความรู้ความเข้าใจกับ Blogger หรือสื่อมวลชนด้านการท่องเที่ยว พร้อมมอบหมายภารกิจ 3. จัดให้ Blogger หรือสื่อมวลชนด้านการท่องเที่ยว จำนวน 30 คน ลงพื้นที่ชุมชน 160 ชุมชน และบันทึกเรื่องราวชุมชน/ผลิตภัณฑ์ พร้อมทำการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสาธารณะ 4. รวบรวมข้อมูลบันทึกเรื่องราวเรื่องที่ได้ทำการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และจัดทำ เอกสารประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว (เชิญมาเที่ยวบ้านฉัน) จำนวน 10,000 เล่ม 5. จัดทำเอกสารสรุปผลการดำเนินกิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 8,700,000 บาท งบประมาณ ระยะเวลา ระยะเวลา 60 วัน นับจากวันลงนามในสัญญา

3. แสดงผลความสำเร็จ OTOP นวัตวิถี แสดงหมู่บ้านเข้มแข็งดีเด่นพร้อม ให้บริการด้านการท่องเที่ยว 50 หมู่บ้าน (พร้อมที่เที่ยว ที่พัก ผลิตภัณฑ์ อาหาร) จัดมหกรรม วิถีชีวิต เสนอคุณค่าเฉพาะ(เสน่ห์)ชุมชน ให้ผู้เข้าชมและนักท่องเที่ยว เกิดความมั่นใจ ในสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว ในหมู่บ้าน (3,273 หมู่บ้าน) ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวชุมชน เชิญชวนไป “เที่ยวบ้านฉัน” เพิ่มรายได้ชุมชนด้วยการเป็นผู้ประกอบการเอง แสดงหมู่บ้านเข้มแข็งพร้อมให้บริการ ด้านการท่องเที่ยว 110 หมู่บ้าน แสดงข้อมูลหมู่บ้านเข้มแข็งเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหลัก 3,113 หมู่บ้าน เจรจาธุรกิจท่องเที่ยวกับหมู่บ้าน เสนอผลิตภัณฑ์โอทอป ที่มีการยกระดับมาตรฐาน งบประมาณ 88,000,000 บาท ระยะเวลา 5 วัน

กิจกรรมที่ 1 เตรียมความพร้อมในพื้นที่เพื่อการจัดแสดงความสำเร็จของชุมชน ส่วนกลาง ดำเนินการ 1. ตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานรับผิดชอบดำเนินกิจกรรม 2. จัดหาผู้รับจ้าง ผู้รับจ้าง ดำเนินการ 3. ประสานจังหวัดเตรียมความพร้อมในพื้นที่ เพื่อการจัดแสดงความสำเร็จของชุมชน 160 ชุมชน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพร้อมในพื้นที่ 160 ชุมชน จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 5 วัน ออกแบบและจัดทำแผ่นพับ เพื่อประชาสัมพันธ์ ออกแบบและตกแต่งสินค้า เพื่อแสดงผลงาน ขั้นตอน การดำเนินกิจกรรม 13,566,400 บาท งบประมาณ ระยะเวลา 1 – 10 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ 2 จัดแสดงผลงานเสน่ห์วิถีชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ส่วนกลาง ดำเนินการ 1. กำหนดแนวทาง/รูปแบบ 2. ประสานจังหวัด/ชี้แจงเตรียมความพร้อมการเข้าร่วมจัดแสดงผลงานความสำเร็จ ผู้รับจ้าง ดำเนินการ 3. จัดแสดงผลงานความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จำนวน 5 วัน ประกอบด้วย - นิทรรศการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีต้นแบบ 50 ชุมชน : จำลองสภาพชุมชน - นิทรรศการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 4 ภาค 110 ชุมชน : แสดงเอกลักษณ์/อัตลักษณ์ชุมชน/วิถีชีวิต - นิทรรศการข้อมูลชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 3,113 ชุมชน : รูปแบบนิทรรศการภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว - จำหน่ายอาหารถิ่นรสไทยแท้ (OTOP Authentic Thai taste ) 150 บูธ :จำหน่ายอาหารพื้นถิ่น หาทานได้ยาก 4. ประเมินและสรุปผลการดำเนินกิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 62,467,200 บาท งบประมาณ ระยะเวลา 12 – 16 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์การจัดงานแสดงผลสำเร็จ ผู้รับจ้าง ดำเนินการ ประชาสัมพันธ์ การจัดงานแสดงผลสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี - ก่อนการจัดงาน – ระหว่างการจัดงาน - หลังการจัดงาน ผ่านสื่อสปอร์ตโทรทัศน์ โดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง/สปอร์ตวิทยุ/ ป้ายประชาสัมพันธ์ Billboard/ใช้บุคคลมีชื่อเสียงเข้าร่วมงาน/สื่อสิ่งพิมพ์/ สื่อ online ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 11,966,400 บาท งบประมาณ ระยะเวลา ภายในเดือนกันยายน

เกณฑ์การประกวด ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน Final 05/07/2018

กรอบแนวคิดเกณฑ์การประกวดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี นโยบายของรัฐบาล ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม สร้างโอกาส สร้างรายได้ การพัฒนา OTOP แบบเดิม นำสินค้าออกขายนอกชุมชน  ขายสินค้าสู้เอกชนไม่ได้  ช่องทางการตลาดเป็น Event  รายได้ไม่กระจาย ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ขายสินค้าอยู่ในชุมชน  ใช้เสน่ห์สร้างสรรค์รายได้  รายได้กระจาย  สร้างแอ่งท่องเที่ยวเล็ก ๆ  ชุมชนคงอยู่ เกิดวิถีชุมชน สิ่งที่ดำเนินการ สร้างชุมชนเข้มแข็ง สร้างตลาดในชุมชน พัฒนาสินค้า OTOP ดึงเสน่ห์ชุมชนออกมา เชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยว การประกวดชุมชนเท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เกณฑ์การประกวด จำนวนชุมชนเป้าหมาย 50 160 3,273 ต้นแบบ 1. ด้านการบริหารจัดการชุมชน (40) 2. ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (40) 3. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวและบริการ (20) ผลสัมฤทธิ์ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ  ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการพัฒนา  ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น  ชุมชนได้รับการพัฒนา  ชุมชนผ่านการประเมินระดับมั่งมี ศรีสุข  ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม  ครอบครัวอบอุ่น ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อยู่ในชุมชนอย่างมีความสุข  ชุมชนเข้มแข็ง ยั่งยืน บูรณาการร่วมกัน “ชุมชนเป็นตัวตั้ง เอกชนร่วมขับเคลื่อน รัฐสนับสนุน”

เกณฑ์การประกวดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 3 ด้าน 18 ตัวชี้วัด 100 คะแนน การบริหาร จัดการชุมชน 1. มีคณะกรรมการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี และขับเคลื่อนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (7 คะแนน) 2. คนในชุมชนทำหน้าที่เป็นเจ้าบ้านที่ดี มีส่วนร่วมในการจัดการชุมชนท่องเที่ยว (7 คะแนน) 3. มีข้อมูลของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ที่ชัดเจนและครอบคลุม (5 คะแนน) 4. มีการนำทุนชุมชน ๕ ประเภท และทุนทางวัฒนธรรม ๘ เสน่ห์ มาสร้างมูลค่าเพิ่ม (5 คะแนน) 5. มีแผนธุรกิจชุมชนและมีการดำเนินงานตามแผน (5 คะแนน) 6. มีการจัดระเบียบสภาพแวดล้อมชุมชน เส้นทางคมนาคม/ท่องเที่ยว รวมถึงภูมิทัศน์ จุดถ่ายภาพ (Land mark) ให้มีความสะอาด สวยงาม ชวนชม สะดวก และปลอดภัย (6 คะแนน) 7. มีการประชาสัมพันธ์ และส่งเสริมการตลาดอย่างน่าสนใจ “เชิญมาเที่ยวบ้านฉัน” (5 คะแนน) 7 ตัวชี้วัด 40 คะแนน การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ 1. มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว โดยนำเสนอเรื่องราวที่สร้างสรรค์และน่าสนใจ (7 คะแนน) 2. มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่มีคุณภาพ (7 คะแนน) 3. มีความพร้อมเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน (มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ) (8 คะแนน) 4. ผลิตภัณฑ์สามารถผลิตซ้ำได้ในปริมาณและคุณภาพใกล้เคียงกัน (5 คะแนน) 5. มีช่องทางการตลาดพร้อมข้อมูลของสินค้าที่จำหน่ายในชุมชน นอกชุมชน หรือออนไลน์ (8 คะแนน) 6. มีเมนูอาหารท้องถิ่น บริการนักท่องเที่ยว (5 คะแนน) 6 ตัวชี้วัด 40 คะแนน ส่งเสริม การท่องเที่ยว และบริการ 1. มีกิจกรรมการท่องเที่ยวและโปรแกรมการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ (5 คะแนน) 2. มีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวกับชุมชนอื่น (3 คะแนน) 3. มีการจัดการที่พักและสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ (4 คะแนน) 4. มีนักเล่าเรื่องชุมชนที่สามารถสร้างความประทับใจ (3 คะแนน) 5. คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น (5 คะแนน) 5 ตัวชี้วัด 20 คะแนน