การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น (ชำนาญการ) “การเขียนแบบประเมินค่างาน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เมฆขำ ประธานคณะกรรมการปฏิรูประบบบริหารงานบุคคล วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561 ณ ห้องบุษบงกช (เอ) โรงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ
พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ เชี่ยวชาญพิเศษ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ เกณฑ์กำหนดตำแหน่ง ให้สูงขึ้น (ปกติ) ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี เชี่ยวชาญ รายละเอียดข้อบังคับฯ (7) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง (8) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง (9) เกณฑ์ปกติ ผู้อำนวยการกอง / หัวหน้าสำนักงาน ชำนาญการพิเศษ ชำนาญงานพิเศษ (6) เกณฑ์ปกติ เกณฑ์ปกติ (4) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง (5) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่าย ชำนาญการ (ไม่มีกรอบ ทำได้ทุกคน) ชำนาญงาน (2) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง (3) เกณฑ์ปกติ เกณฑ์ปกติ (1) เกณฑ์เข้าสู่ตำแหน่ง รักษาการหัวหน้าฝ่าย ระดับปฏิบัติการ ระดับปฏิบัติงาน ระดับปริญญาตรี ต่ำกว่าปริญญาตรี ตำแหน่งสายบริหาร ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งประเภททั่วไป
ขั้นตอนการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ที่ ก.พ.อ. กำหนด คือ มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน (เริ่มตั้งแต่ปฏิบัติงานใน มรภ.สวนสุนันทา) ปริญญาตรี 6 ปี / ปริญญาโท 4 ปี / ปริญญาเอก 2 ปี ผ่าน 2. ยื่นแบบประเมินค่างาน ณ กองบริหารงานบุคคล (ชั้น4) - ระดับชำนาญการ 64 คะแนน - ระดับผู้บริหาร (หัวหน้าฝ่าย) 60 คะแนน พร้อมทั้งตรวจสอบคุณสมบัติที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ระดับชำนาญการ) ดังนี้ 1. ผลการปฏิบัติราชการย้อนหลัง คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 85 คะแนน 2. ผลการสอบด้านงานสารบรรณ มีคะแนนไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน 3. ผลการสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคะแนนไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน 4. ผลการสอบด้านภาษาอังกฤษ มีคะแนนไม่ต่ำกว่า 50 คะแนน คะแนนการสอบ ข้อ 2 – 4 มีผล 2 ปี ผ่าน 3. ยื่นแบบฟอร์มการเสนอขอแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่สูงขึ้น ณ กองบริหารงานบุคคล (ชั้น4) ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ A : หัวหน้าฝ่าย เข้าสู่ ชำนาญการ B : ปฏิบัติการ เข้าสู่ ชำนาญการ หรือ หรือ หรือ คู่มือปฏิบัติงานหลัก แบบแสดงหลักฐาน การมีส่วนร่วมในผลงาน คู่มือปฏิบัติงานหลัก (บังคับ) R2R งานวิจัย ผลงานเชิงสังเคราะห์ ผลงานเชิงวิเคราะห์ แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงาน
ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ 1. แบบประเมินค่างานและเกณฑ์การตัดสินเพื่อกำหนดระดับชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
*กรอกข้อมูลเฉพาะข้อ 1-3* ปฏิบัติการ สู่ ชำนาญการ เลข 4 ตัว (ตรวจสอบจากกองบริหารงานบุคคล) *กรอกข้อมูลเฉพาะข้อ 1-3* ตำแหน่งที่ปฏิบัติจริง ณ ปัจจุบัน ปฏิบัติการ ตำแหน่งที่ปฏิบัติจริง ณ ปัจจุบัน ชำนาญการ ตำแหน่งระดับปฏิบัติการตามที่ ก.พ.อ. กำหนด ตำแหน่งระดับชำนาญการตามที่ ก.พ.อ. กำหนด โดยระบุเป็นด้านๆ เขียนงานที่ตนเองปฏิบัติ (ตาม Flow chart ใน JD) และระบุขั้นตอนการทำงานว่าอยู่ในด้านใดตามที่ ก.พ.อ. กำหนด (ไม่จำเป็นต้องครบ 4 ด้าน) http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
*กรอกข้อมูลเฉพาะข้อ 1-3* หัวหน้าฝ่าย สู่ ชำนาญการ เลข 4 ตัว (ตรวจสอบจากกองบริหารงานบุคคล) *กรอกข้อมูลเฉพาะข้อ 1-3* ตำแหน่งที่ปฏิบัติจริง ณ ปัจจุบัน ปฏิบัติการ ตำแหน่งที่ปฏิบัติจริง ณ ปัจจุบัน ชำนาญการ http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานหลัก 2. เทคนิคการเขียนคู่มือปฏิบัติงานหลัก http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
โครงร่างคู่มือปฏิบัติงานหลัก บทที่ 1 บทนำ ความสำคัญ / ความเป็นมา (เขียนบรรยายเป็นความเรียง) 1 . เกริ่นนำ ภารกิจ/หน้าที่ของฝ่าย (ย่อหน้าแรก) 2. ภารกิจ/หน้าที่ของตนเอง (ย่อหน้าแรก) 3. อุปสรรคปัญหาของงาน+เหตุผลในการจัดทำคู่มือ (ย่อหน้าที่ 2) 4. ผู้รับผิดชอบงานได้จัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ (ย่อหน้าที่ 2) วัตถุประสงค์ของคู่มือ (เป็นข้อๆให้มีความสัมพันธ์กับงาน) เพื่อศึกษา …/ เพื่อวิเคราะห์ … / เพื่อสังเคราะห์ … / เพื่อประเมิน … / เพื่อเปรียบเทียบ … / เพื่อทดสอบ … / เพื่อหาความสัมพันธ์ / อื่นๆ ประโยชน์ของคู่มือ (เขียนจากวัตถุประสงค์ โดยให้ได้ประโยชน์จริง) ขอบเขตของคู่มือ 1. เนื้อหา : หน้าที่ความรับผิดชอบหลักในเกณฑ์ ก.พ.อ. ระดับปฏิบัติการ (เอาเฉพาะส่วนบรรยาย) 2. ขอบเขตของงาน : ระบุหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน นิยามศัพท์เฉพาะ / นิยามปฏิบัติการ 1. นิยามศัพท์เฉพาะของฝ่าย / คนอื่นอ่านแล้วต้องถาม? http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum บทที่ 2 หน้าที่ความรับผิดชอบและการบริหารจัดการ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง เอาจาก JD ที่ปฏิบัติงานทั้งหมด โดยระบุจำนวนงาน และชื่องาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 4 ด้าน ตามเกณฑ์ ก.พ.อ. ระดับปฏิบัติการ โครงสร้างการบริหารจัดการ / โครงสร้างมหาวิทยาลัย โครงสร้างมหาวิทยาลัย (ข้อมูลจากกองแผนฯ) โครงสร้างขององค์กร (Organization Chart) / โครงสร้างหน่วยงาน โครงสร้างของหน่วยงานตนเอง โครงสร้างการบริหาร (Administration Chart) / โครงสร้างของฝ่าย โครงสร้างของฝ่ายตนเอง โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity Chart) / โครงสร้างงานของตนเอง JD งานทั้งหมดของตนเอง (Flow chart) http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum บทที่ 3 หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการปฏิบัติงาน . หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน อ้างอิงกฎ/หลักเกณฑ์/กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานที่เราทำ วิธีการปฏิบัติงาน นำช่องคำอธิบายใน JD (กิจกรรมหลัก/กิจกรรมรอง/รายละเอียดอื่นๆ) มาวาง ข้อควรระวัง / ข้อสังเกต / สิ่งที่ควรคำนึง / เงื่อนไข ดุลพินิจของตนเอง แนวคิด / งานวิเคราะห์ – งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง / กรณีศึกษา มีงานวิจัย/KM/แนวคิดของงานคนอื่นมาอ้างอิง ให้สัมพันธ์กับงานของตนเอง http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum บทที่ 4 เทคนิคการปฏิบัติงาน แผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน แผนปฏิทินในการทำงานของตนเอง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน / ความสำเร็จ เอาผลการดำเนินงานเทียบกับแผนในข้อ 4.1 วิธีการให้บริการกับผู้รับบริการให้มีความพึงพอใจ เขียนขั้นตอนในการให้บริการให้มีความพึงพอใจ (เขียนเป็นข้อๆ) จรรยาบรรณ / คุณธรรม / จริยธรรม / สมรรถนะในการปฏิบัติงาน อ้างอิงกฎ/หลักเกณฑ์/กฎหมาย/ระเบียบจรรยาบรรณของงานตนเองที่เขียนในเล่มคู่มือ http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข การพัฒนาและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ดุลพินิจของตนเอง แนวทางแก้ไขและการพัฒนา ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม (เขียนตามAPA) ภาคผนวก (ถ้ามี) ประวัติผู้เขียน 1. ชื่อ –นามสกุล 2. วุฒิการศึกษา 3. ประสบการณ์ทำงาน 4. ความชำนาญพิเศษ/ความสามารถพิเศษ 5. ผลงาน 6. การเข้าร่วมอบรม/สัมมนา 7. การเป็นวิทยากร/ผู้บรรยาย (ถ้ามี) http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
ประกาศมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง 1. ประกาศฯ เรื่อง เกณฑ์คุณสมบัติสำหรับการเสนอขอเข้ารับการประเมินเพื่อแต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัยให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ 2. ประกาศฯ เรื่อง กำหนดแบบฟอร์มการเสนอขอแต่งตั้งและแบบฟอร์มการประเมินผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน ผู้ชำนาญงานพิเศษ ผู้ชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 3. ประกาศฯ เรื่อง แบบประเมินค่างานและเกณฑ์การตัดสินเพื่อกำหนดระดับชำนาญงาน ชำนาญงานพิเศษ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ 4. ประกาศ ฯ เรื่อง คำนิยามผลงาน คุณภาพผลงานและกำหนดโครงร่างผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน ผู้ชำนาญงานพิดศษ ผู้ชำนาญการ ผู้ชำนาญการพิเศษ ผู้เชี่ยวชาญและผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สามารถดาว์นโหลดเอกสารได้ที่ http://personnel.ssru.ac.th/page/sublaw1 http://www.ssru.ac.th Assoc.Prof.Dr.witthaya Mekhum
ช่องทางการติดต่อ รศ.ดร.วิทยา เมฆขำ ช่องทางการติดต่อ รศ.ดร.วิทยา เมฆขำ Facebook รศ.ดร.วิทยา เมฆขำ Website www.elfit.ssru.ac.th/witthaya_me