กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
Advertisements

สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
ผลการดำเนินงาน 6 เดือน กลุ่มวัยเรียน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
คลินิกไร้พุงคุณภาพ (DPAC Quality)
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
เข็มมุ่งกรมอนามัย ประจำปี 2559
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
การควบคุม (Controlling)
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การรายงานผลการดำเนินงาน
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่

วัยทำงาน ตัวชี้วัดหลัก : ประชาชนอายุ 15-59 ปีดัชนีมวลกายปกติ (BMI 18.5 -22.9) ร้อยละ 36 ตัวชี้วัดรอง : ประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ(การมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาที/สัปดาห์ และ/หรือ กิจกรรมทางกายระดับหนัก อย่างน้อย 75 นาที/สัปดาห์ หรือรวมกัน

Template - ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน มีค่าดัชนีมวลกายปกติ

ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ค่า BMI > 25 เป็นประชาชนที่มีภาวะอ้วน (ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดกรมอนามัยต้องไม่เกิน ร้อยละ 10) จากข้อมูล HDC 32.51

ในปีที่ผ่านมาเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปมีค่า BMI > 25 ไม่เกินร้อยละ 10 จากข้อมูล HDC

GAP จากการนิเทศติดตามงาน - เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอและตำบล มีการคัดกรองและบันทึกข้อมูลกลุ่มวัยทำงานและมีการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. แต่ไม่มีการวิเคราะห์ข้อมูลในการนำมาใช้ ในการแก้ปัญหา - ประชาชนที่มีค่า BMI > 22.9 ขึ้นไปในอายุ 18 – 59 ปี ยังไม่มีการรายงานใน HDC(ตัวชี้วัดอายุใหม่กรมอนามัย) - ข้อมูลเดิม จาก HDC เป็นประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ค่า BMI > 25 เป็นประชาชนภาวะอ้วน - ไม่มีช่องทางการรายงานผู้รับบริการการดำเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. ในระบบ IT - พื้นที่มีการสร้างนวัตกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแต่ไม่ได้นำมาใช้แบบต่อเนื่องหรือขยายต่อให้แพร่หลาย

Program Evaluation and Review Technique(PERT) : ชื่อตัวชี้วัด..1.ประชากรอายุ 18 – 59 ปี มีค่า BMI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 36 ในปี 2560 2. ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปมีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกาย ร้อยละ 84 ในปี 2564 ตค- ธค.5๙ มค. - มิย.60 กค. – กย. 60 รพ.รับนโยบายและแนวทางดำเนินงาน DPAC บุคลากรมีทักษะในการดำเนินงานงาน DPAC ปชช.ที่อ้วนละมีโรคได้รับบริการDPAC+NCD -กิจกรรม 3 อ.ทีมงาน DPAC -lส่งรายงาน ประชาชนอายุ 15 ปี – 59 ปี มีค่า BMI ปกติ ร้อยละ 36 รพ.สต.รับนโยบายและแนวทางดำเนินงาน DPAC บุคลากรมีทักษะในการดำเนินงานงาน DPAC กลุ่มเสี่ยงได้รับบริการ ร้อยละ50DPAC/NCD ประชาชนอายุ 15 ปี – 59 ปี มีแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพลดอ้วน/นน.เกิน(SOP) กลุ่มเสี่ยง/ปกติ เข้าร่วมชมรมกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ ปชช.ได้รับการประเมิน BMI ร้อยละ 80 มีคณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม บูรณาการทั้ง อำเภอ,จังหวัด -กิจกรรม 3 อ.ทีมงาน DPAC -ประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน มีข้อมูลนิเทศ รพ./รพ.สต./ชมรม โดยทีม อำเภอ/จังหวัด ประชุมพัฒนาทีมร่วมกับ DPC NCD LTC DHS ตำบลจัดการสุขภาพ มีแบบรายงาน ประเมิน/นิเทศติดตาม ทีมนิเทศได้รับการพัฒนาคุณภาพ มีแผนการนิเทศ

เป้าหมายการพัฒนาในระดับอำเภอ ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1. คัดกรองค่า BMI ของ ประชาชนอายุ 15-59 ปี ร้อยละ 30 ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 1. โปรแกรมJHCIS ส่งออก 43 แฟ้ม ส่งเป็นข้อมูล HDC 2. ทะเบียนการคัดกรอง BMI 3.มีข้อมูล จำนวน และทะเบียนรายชื่อการแยกกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย 2.การ ดำเนินงาน คลินิกDPAC 2.1 คลินิก DPAC ใน รพ. 1.รพ.มีข้อมุลการประเมินคลินิกDPAC คุณภาพ 2.มีการวิเคราะห์ปัญหาทีทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์คลินิกDPAC คุณภาพ 3.มีแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา   1.มีคณะทำงานงานDPACที่บูรณาการกับงานอื่นๆ 2.มีการกำหนดกิจกรรมการให้บริการและตารางการให้บริการที่ชัดเจนตามSOPในรพ. และ/หรือชุมชน 3.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 30/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 50) 1.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 50/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 80) 2.มีข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.มีรายงานการประชุมคณะทำงานที่จะพัฒนางาน DPAC คุณภาพ 4.มีผลการประเมินคลินิกDPAC ซ้ำ 2.มีคลินิก DPACผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับดีมาก ขึ้นไป (คะแนน 80 ขึ้นไป) 1.ผลการประเมินตนเองครั้งที่1 และครั้งที่ 2 2. แผนการแก้ไขปัญหา 3. รายชื่อคณะทำงาน กิจกรรมและตารางการให้บริการคลินิกDPAC 4. ทะเบียนผู้รับบริการคลินิกDPAC 5.รายงานการประชุมการแก้ไขปัญหา

ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 2.2 การ ดำเนินงาน คลินิก DPAC ใน รพ.สต. 1.มีการจัดตั้งคลินิกDPACใน รพ.สต.ทุกแห่ง 2.รพ.สต.มีข้อมุลการประเมินคลินิกDPACคุณภาพ 3.มีการวิเคราะห์ปัญหาทีทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์คลินิกDPAC คุณภาพ 4.มีแผนงาน/โครงการแก้ไขปัญหา 1.มีการกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน 2.มีการกำหนดกิจกรรมการให้บริการและตารางการในรพ.สต.และชุมชน 3.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 20/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 30) 1.มีจำนวนผู้รับบริการในคลินิกDPAC (กลุ่มเสี่ยงอย่างน้อยร้อยละ 50/กลุ่มป่วยอย่างน้อยร้อยละ 80) 2.มีข้อมูลสรุปผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.มีรายงานการประชุมคณะทำงานที่จะพัฒนางาน DPAC คุณภาพ 4.มีผลการประเมินคลินิกDPAC ซ้ำ 2.มีคลินิก DPACผ่านเกณฑ์คุณภาพระดับดีมาก ขึ้นไป (คะแนน 80 ขึ้นไป) 1.ผลการประเมินตนเองครั้งที่1 และครั้งที่ 2 2. แผนการแก้ไขปัญหา 3. รายชื่อคณะทำงาน กิจกรรมและตารางการให้บริการคลินิกDPAC 4. ทะเบียนผู้รับบริการคลินิกDPAC 5.รายงานการประชุมการแก้ไขปัญหา

ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ประเด็นที่กำกับติดตาม ผลงาน (Task ) ระดับอำเภอ ข้อมูล/ทะเบียน/รายงานที่เกี่ยวข้อง 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 3. การจัด กิจกรรม ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม สุขภาพใน ชุมชน 1.มีข้อมูลชมรม/กลุ่ม ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน(ออกกำลังกาย/อาหาร/ผักปลอดสารพิษ/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพจิตใจ อื่นๆ) และจำนวนสมาชิกในระดับหมู่บ้าน 2.มีข้อมูลการดำเนินงานของชมรมต่างๆในชุมชนเป็นไปตามแนวทางการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนปัญหาอุปสรรค   1.ในกรณีที่ไม่มีชมรม/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพในชุมชนให้มีการจัดตั้งอย่างน้อย 1 ชมรม/กลุ่ม ต่อ 1 หมู่บ้าน 2.มีข้อมูลการพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพการดำเนินงานในชุมชน 3.มีข้อมูลผลการดำเนินงานกิจกรรมในแต่ละชมรม/กลุ่ม 4.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 30 กลุ่มป่วยร้อยละ 30 กลุ่มปกติ ร้อยละ 30 5.มีผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น นำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม ทุกเดือน 6.มีผลการวิเคราะห์การดำเดินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 1.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 50 กลุ่มป่วยร้อยละ 50 กลุ่มปกติ ร้อยละ 50 2.ผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น นำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่มทุกเดือน 3.มีผลการวิเคราะห์การดำเดินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 1.กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมในชมรม/กลุ่ม ร้อยละ 60 กลุ่มป่วยร้อยละ 60 กลุ่มปกติ ร้อยละ 60 2.ผลการประเมินการตรวจสุขภาพเบื้องต้น น้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว ความดันโลหิต BMI ของสมาชิกในชมรม/กลุ่มทุกเดือน 3.มีผลการวิเคราะห์การดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยงของสมาชิกในชมรม/กลุ่ม 4.มีการสรุปผลการดำเนินงาน การลดความเสี่ยง ของชมรม/กลุ่ม 1.ทะเบียนชมรม/กลุ่มส่งเสริมสุขภาพและรายชื่อสมาชิกชมรม/กลุ่ม 2.ข้อมูลรูปแบบการจัดการกิจกรรมและจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.ข้อมูลการตรวจร่างกายเบื้องต้นทุกเดือน 4.ข้อมูลการวิเคราะห์การดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการลดความเสี่ยง 5.รายงานการประชุมการดำเนินงานของชมรม/กลุ่มในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ