Nursing Care for Patient with Behavior Disorders

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำหนังสือใหม่ กรกฎาคม 2555
Advertisements

แนะนำหนังสือใหม่ พฤศจิกายน 2557
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ทฤษฎีการให้คำปรึกษาแบบเอกัตบุคคล Person Centered Theory
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
ท่าเรือแหลมฉบังก่อสร้างศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยฯ หนังสือขอส่งงวด งาน.
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
COMPETENCY DICTIONARY
รองผู้อำนวยการสำนักบริหารการสาธารณสุข
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการพยาบาลสุขภาพจิตและความผิดปกติทางจิต
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การพยาบาลนิติจิตเวช โดย อ. นิตยา ศรีจำนง.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การเสริมสร้างพลังอำนาจ ในผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในระยะแพร่กระจาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา อู่รัตนมณี
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
ช่วยคุณครูเตรียมรับมือ เด็กวัยรุ่นยุคใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
พ.ต.อ.หญิงนพมาศ ขำสมบัติ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
Class Diagram.
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Nursing Care for Patient with Behavior Disorders Jiraporn Rakkarn, MNS, RN Division of Mental Health and Psychiatric Nursing College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University

Aggression, Hostility, Violence College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Definition Aggression Aggression is an action or behavior that results in a verbal or physical attack. Aggression is not always inappropriate and is sometimes necessary for self-protection. (Varcarolis, 2013; Halter, 2014) College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Definition Hostility Hostility is seen as form emotionally charged anger behavior. Hostility is a form of anger internal rejection or denial. It is more commonly used as a synonym for anger and aggression. Violence Violence is always an objectionable act that involves intentional use of force that results in, or has the potential to result in, injury to another person College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Cause Organic Cause Intoxication, Withdrawal, Drug abuse Epilepsy Head injury Senile dementia Herpes simplex, Encephalitis, Brain tumor Hypoglycemia Here comes your footer  Page 5 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Cause Functional Cause Psychosis ---> Fear, Paranoid, Hallucination, Delusion Affective Disorders ---> Mania, Depress Personality Disorders ---> Antisocial Here comes your footer  Page 6 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Behavioral 1 2 3 4 5 6 Angry, irritable affect Hyperactivity: pacing, restlessness, slamming door 2 Increase anxiety and tension 3 Clenched jaw or fist 4 Rigid posture 5 Fixed or tense facial expression 6 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Behavioral 7 8 9 10 11 Verbal abuse: argumentativeness Loud voice, change of pitch, yelling 8 Intense eye contact or avoidance of eye contact 9 Throwing objects, hitting 10 Punching at self or other 11 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Process College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment A history of violence Psychosis, Paranoid, Hallucination Hyperactivity, Impusive Risk for violence ---> wish or intent to harm, plan Demographic risk ---> male gender, ages 14-24, low socioeconomic status & support system Aggression Inability to control anger Limited coping skills Negative thoughts Here comes your footer  Page 10 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Diagnosis NANDA Nursing Diagnosis (Ackley & Ladwig, 2014) Risk for other-directed violence Risk for self-directed violence Fear Here comes your footer  Page 11 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Diagnosis Risk for other-directed violence related to lack of impulse control เสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้อื่นเนื่องจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมของตนเองได้ Here comes your footer  Page 12 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment Subjective Data Objective Data ผู้ป่วยบอกว่า “ฉันไม่ชอบเขาเลย คอยมองหน้าจ้องจะหาเรื่องตลอด” ผู้ป่วยขว้างแก้วน้ำใส่ผู้ป่วยอื่น ผู้ป่วยมองตาขวาง ผู้ป่วยมีสีหน้าบึ้งตึง Here comes your footer  Page 13 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Planning Goal Expected Outcome ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้อื่น Expected Outcome ผู้ป่วยไม่ทำร้ายผู้อื่น ผู้ป่วยไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ผู้ป่วยพูดคุยกับผู้อื่นด้วยท่าทีและน้ำเสียงที่เป็นเป็นมิตร Here comes your footer  Page 14 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Intervention ประเมินสภาพอารมณ์และสังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ สังเกตสัญญาณเตือนของการเกิดพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงทางสีหน้า ท่าทาง สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด นำสิ่งต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายหรือผู้ป่วยอาจใช้เป็นอาวุธได้ไปไว้ไกลๆ ผู้ป่วย ลดระดับสิ่งเร้า ไม่กระตุ้นผู้ป่วย จัดกิจกรรมให้ผู้ป่วยได้ระบายความก้าวร้าวไปในทางที่เหมาะสม ถ้าผู้ป่วยมีท่าทีสับสน หรือควบคุมตัวเองไม่ได้ อาจต้องใช้การผูกยึดและการใช้ยา ให้แรงเสริมทางบวก ให้กำลังใจ ชมเชย Here comes your footer  Page 15 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Evaluation พิจาณาดูว่าผู้ป่วยลดความก้าวร้าว รุนแรง และหลีกเลี่ยงความรู้สึกไม่เป็นมิตรได้หรือไม่ สามารถบอกด้วยคำพูดเกี่ยวกับความรู้สึกไม่เป็นมิตร แยกแยะสิ่งที่มาคุกคามจิตใจ และสามารถหาแนวทางในการเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม Here comes your footer  Page 16 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Suicide & Self-Destructive College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Definition Suicide Self-Destructive Suicide is the intentional act of killing oneself. Suicidal thoughts are common in people with mood disorder, especially depression. Suicidal behavior is the occurrence of persistent thought patterns and actions that indicate a person is thinking about, planning, or enacting suicide. Self-destruction is usually defined as the voluntary destruction of something by it self. Here comes your footer  Page 18 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Suicide & Self-Destructive Completed suicide/Committed suicide/ Successful suicide Attempted suicide Suicidal ideation Suicidal Behavior Suicidal gestures Threatened suicide College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Cause Biological factors Psychological factors Sociological factors Neurotransmitter ---> Serotonin Physical & Psychiatric Illness Withdrawal symptoms Psychological factors Object loss Anger Turn Inward: Introjection Hopelessness Desperation & Guilt Shame & Humiliation Sociological factors Economic Family Egoistic Suicide/Anomic Suicide College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Suicide & Self-Destructive Risk Factors Gender ---> Attempted suicide: Female > Male ---> Completed suicide: Male > Female Single > Married Divorce Older Aging Low social support Physical illness, Chronic illness, Psychosis disorder Alcoholism, Drug abuse History of suicide Here comes your footer  Page 21 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Process College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment ประวัติการฆ่าตัวตาย ความคิดและแผนการฆ่าตัวตาย “คุณรู้สึกแย่ขนาดไหน” “สิ่งต่างๆ ร้ายแรงขนาดไหนสำหรับคุณ” “คุณเคยคิดทำร้ายตัวเองบ้างไหมเวลาที่คุณรู้สึกไม่สบายใจ” “คุณเคยมีความเศร้าโศกถึงขนาดคิดฆ่าตัวตายบ้างหรือไม่” Here comes your footer  Page 23 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment มักพูดเกี่ยวกับการตาย การจากเสมอๆ “ฉันไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไปแล้ว” “อยู่หรือตายก็มีค่าเท่ากัน” “วันนี้เราคงพบกันเป็นวันสุดท้าย ผู้ป่วยซึมเศร้า แล้วเปลี่ยนเป็นดีขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึมเศร้า รู้สึกผิดมาก ร้องไห้บ่อย แยกตัวอยู่ในห้อง เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ให้สิ่งของส่วนตัวกับบุคลอื่น Here comes your footer  Page 24 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Diagnosis NANDA Nursing Diagnosis (Ackley & Ladwig, 2014) Risk for suicide Risk for self-directed violence Situational low self-esteem Ineffective coping Hopelessness Social isolation Spiritual distress Risk-prone health behavior Here comes your footer  Page 25 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Diagnosis Risk for suicide/Risk for self-directed violence related to history of prior suicide attempt Hopelessness physical illness suicidal ideation verbal cues (talk about death) Here comes your footer  Page 26 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment Subjective Data Objective Data ผู้ป่วยบอกว่า “อยากแขวนคอตายให้แล้วรู้รอดไป อยู่ไปก็มีแต่จะทำให้ครอบครัวเดือดร้อน” มีประวัติพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน สีหน้าครุ่นคิด สายตาเหม่อลอย ขณะสนทนาผู้ป่วยก้มหน้า ไม่สบตา Here comes your footer  Page 27 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Planning Goal Expected Outcome ผู้ป่วยไม่เกิดพฤติกรรมรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อตนเอง Expected Outcome ผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมฆ่าตัวตาย ไม่พูดหรือบ่นถึงความรู้สึกที่เคยทำมาก่อน มีสีหน้าแจ่มใส สนใจตัวเองและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น Here comes your footer  Page 28 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Intervention ประเมินโอกาสเสี่ยงของการทำร้ายตนเอง เฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย/การทำร้ายตนเอง กระตุ้นให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกไม่สบายใจ และสิ่งที่เป็นปัญหา อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย และป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสังเกตพฤติกรรมและคำพูดของผู้ป่วยอย่างรอบคอบ ตั้งคำถามเพื่อประเมินความคิดฆ่าตัวตาย “คุณรู้สึกเบื่อหน่ายหรือท้อใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นบ้างไหม” “คุณรู้สึกเบื่อหน่ายถึงขนาดไม่อยากมีชีวิตอยู่บ้างไหม” “คุณมีความคิดจะทำร้ายตนเองบ้างไหม” Here comes your footer  Page 29 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Intervention ค้นหาว่าอะไรที่ยังเป็นความหวังของผู้ป่วย จัดให้ผู้ป่วยเข้ากลุ่มกิจกรรมบำบัด ไม่แยกผู้ป่วยให้อยู่คนเดียว ให้บุคคลใกล้ชิด หรือบุคคลที่มีความสำคัญกับผู้ป่วยมาเยี่ยมให้กำลังใจ วางแผนร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย Here comes your footer  Page 30 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Diagnosis Situational low self-esteem related to Hopelessness behavior inconsistent with values functional impairment failures Here comes your footer  Page 31 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Assessment Objective Data Subjective Data ผู้ป่วยบอกว่า “ฉันนี่มันแย่มากเลย ทำอะไรก็ผิดพลาดไปหมดเสียทุกเรื่อง เบื่อตัวเองมาก” ผู้ป่วยมีสีหน้าเศร้าหมอง แยกตัว ไม่ยอมเข้าร่วมกิจกรรม Here comes your footer  Page 32 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Planning Goal Expected Outcome ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า สามารถบอกข้อดีของตนเองได้ สามารถเข้าร่วมสังคมกับผู้ป่วยอื่นได้ มีสีหน้าแจ่มใสขึ้น Here comes your footer  Page 33 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Nursing Intervention สร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One to One Relationship) เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึกและความคับข้องใจ สอนผู้ป่วยในการสร้างความความมั่นใจและความเชื่อมั่นในตนเอง ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง สนับสนุนให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ใช้เวลาน้อย และเห็นผลสำเร็จในระยะสั้น ให้แรงเสริมทางบวกเมื่อเห็นพฤติกรรมที่เหมาะสมของผู้ป่วย Here comes your footer  Page 34 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Evaluation ติดตามดูผู้ป่วยตลอดกระบวนการพยาบาลว่าประสบความสำเร็จในการช่วยเหลือตามวัตถุประสงค์หรือไม่ เมื่อภาวะวิกฤตจากการฆ่าตัวตายเสร็จสิ้นลง ผู้ป่วยไม่ฆ่าตัวตายหรือพ้นขีดอันตราย ขั้นตอนต่อไปเป็นหมายระยะยาว (Long term goals) คือ การทำจิตบำบัด นำผลการประเมินมาพิจารณาดำเนินการตามวงจรกระบวนการพยาบาลจนกว่าการดูแลผู้ป่วยจะสิ้นสุดเหมาะสม Here comes your footer  Page 35 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Reference ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข. (2557). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส. ปราโมทย์ สุคนิชย์ และมนัส สูงประเสริฐ. (2555). จิตเวชฉุกเฉิน. ใน มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์ (บรรณาธิการ), จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี (หน้า 287-311). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. เพียรดี เปี่ยมมงคล. (2553). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร. เยาวลักษณ์ มหาสิทธิวัฒน์. (2557). การดูแลบุคคลที่มีปัญหาทางจิตสังคม (Caring for Psychosocial Problems). ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ), การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 1 (หน้า 154-158). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: ธนาเพรส. อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2556). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Ackley, B. J. & Ladwig, G. B. (2014). Nursing Diagnosis Handbook: An Evidence-Base Guide to Planning Care. (10th ed.). Maryland Heights, MO: Elsevier Mosby. Boyd, M. A. (2012). Psychiatric Nursing: Contemporary Practice. (5th ed.). Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins. Halter, M. J. (2014). Varcarolis’ Foundations of Psychiatric Mental Health Nursing: A Clinical Approach. (7th ed.). St. Louis, MS: Elsevier Saunders. Shives, L. R. (2012). Basic Concepts of Psychiatric-Mental Health Nursing. (8th ed.). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. Varcarolis, E, M. (2013). Essentials of Psychiatric Mental Health Nursing. St. Louis, MS: Elsevier Saunders. Videbeck, S. L. (2014). Psychiatric-Mental Health Nursing. (6th ed). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health/Lippincott Williams & Wilkins. Here comes your footer  Page 36 College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn

Thank you College of Nursing and Health, Suan Sunandha Rajabhat University Jiraporn Rakkarn