พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ : ความสำคัญ เป็นกฎหมายกลางเพื่อสร้างมาตรฐานสำหรับการใช้อำนาจในฝ่ายปกครอง โดยวางหลักเกณฑ์ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติของฝ่ายปกครอง เพื่อเป็นมาตรการป้องกันความชอบด้วยกฎหมายในการใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง (ก่อนออกคำสั่ง หรือวินิจฉัยสั่งการ) และมาตรการตรวจสอบแก้ไขภายในฝ่ายปกครอง (อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง/การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ความสำคัญในการจัดทำ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ หลักการ หลักความชอบด้วยกฎหมายในการกระทำทางปกครอง องค์กรของรัฐฝ่ายปกครองจะกระทำการใด ๆที่อาจมีผลกระทบกระเทือน ต่อสิทธิเสรีภาพหรือประโยชน์อันชอบธรรมของเอกชนคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มใด กลุ่มหนึ่งได้ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจและจะต้องกระทำลักษณะดังกล่าวภายใน ขอบเขตที่กฎหมายกำหนด องค์กรรัฐฝ่ายปกครองจะต้องดูแลขั้นตอนการปฏิบัติให้เป็นไปด้วยความ ถูกต้องรวดเร็ว เพื่อให้การวินิจฉัยสั่งการเป็นไปด้วยความถูกต้องชอบธรรม (มาตรการเชิงป้องกันก่อนออกคำสั่งทางปกครองอันอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรี หรือประโยชน์ของเอกชน)
หลักควบคุมความชอบด้วยกฎหมายในการกระทำทางปกครอง องค์กรรัฐฝ่ายปกครองมีระบบควบคุมภายใน คือ การอุทธรณ์คำสั่งทาง ปกครอง เพื่อตรวจสอบแก้ไขการกระทำทางปกครองให้ชอบด้วยกฎหมาย (มาตรการ แก้ไขภายในฝ่ายปกครอง) การควบคุมความชอบด้วยกฎหมายในการกระทำทางปกครอง โดยองค์กร ตุลาการตามหลักการการถ่วงดุลอำนาจในรัฐเสรีประชาธิปไตย Checks and Balances (มาตรการแก้ไขโดยองค์กรตุลาการ)
การจัดทำ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองของไทย เดิมการปฏิบัติไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ปล่อยให้เอกชนใช้สิทธิอุทธรณ์/ฟ้องคดีเพื่อ เป็นทางออกในทางปฏิบัติ ไม่สามารถแก้ไขเยียวยาความเสียหายของเอกชนได้อย่าง ทันการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๓๒ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน ของหน่วยงานของรัฐ เป็นเพียงกำหนดแนวทางปฏิบัติภายในของหน่วยงานของรัฐ ไม่มีผลภายนอกต่อเอกชน คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๙๔/๒๕๓๔ ลงวันที่ ๑๗ พ.ค. ๒๕๓๔ แต่งตั้งคณะ กรรมการยกร่างกฎหมายวิธีปฏิบัติเรื่องในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง นำกฎหมาย พิจารณาเรื่องในชั้นเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองของสหพันธรัฐเยอรมันเป็นแนวทาง ในการยกร่าง พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ขอบเขตการใช้บังคับ มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายใดกำหนดวิธีปฏิบัติราชการปกครองเรื่องใดไว้โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์ที่ประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่าหลักเกณฑ์ที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณ์หรือโต้แย้งที่กำหนดในกฎหมาย
หลักการ หลักเงื่อนไขของกฎหมาย (ม.๑๒) หลักเงื่อนไขของกฎหมาย (ม.๑๒) หลักความไม่มีส่วนได้เสีย(เป็นกลาง) (ม.๑๓-๑๖) หลักการรับฟังผู้ที่เกี่ยวข้อง (ม.๒๗ และ๓๐) หลักการต้องให้เหตุผล (ม.๓๗) การพิจารณา/แสวงหาความจริงเป็นระบบไต่สวน (ม.๒๘ม.๒๙) หลักธรรมาภิบาล (ม.๓๓) ระบบตรวจแก้ไขภายในฝ่ายปกครอง (อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง ม.๔๔ - ๔๘ และอุทธรณ์การใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ม.๖๒)
คำสั่งทางปกครอง อุทธรณ์ต่อผู้ออกคำสั่ง องค์ประกอบ รูปแบบ เจ้าหน้าที่ใช้อำนาจตามกฎหมายที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ มีผลกระทบต่อสิทธิและหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าถาวร ชั่วคราว มีผลเป็นการเฉพาะ องค์ประกอบ ต้องมีเหตุผลอย่างน้อย ต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริง ข้อกฎหมายที่อ้างอิง ข้อสนับสนุนในดุลพินิจ รูปแบบ อุทธรณ์ต่อผู้ออกคำสั่ง ระบบตรวจสอบแก้ไขภายในฝ่ายปกครอง เห็นด้วยทั้งหมด/บางส่วน แก้ไข เปลี่ยนแปลง ไม่เห็นด้วยเสนอ ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ กฎกระทรวงฉบับที่ ๔(๒๕๔๐) ลว. ๒๑ พ.ค. ๒๕๔๐
พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ การแจ้งเป็นหนังสือ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ม.๗๐ บุคคลนำส่ง ผู้รับไม่ยอมรับ/ ไม่พบผู้รับ ส่งให้บุคคลบรรลุนิติภาวะที่อยู่หรือทำงานในสถานที่นั้น กรณีบุคคลที่อยู่หรือทำงานในสถานที่นั้นไม่ยอมรับ ให้วางหนังสือ หรือปิดหนังสือนั้นไว้ ในที่ซึ่งเห็นได้ง่าย ณ สถานที่นั้นต่อหน้าเจ้าพนักงาน(กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (๒๕๔๒) ลว.๒ ก.พ. ๒๕๔๒)ที่ไปเป็นพยาน ถือว่าได้รับแจ้งแล้ว ม.๗๑ ส่งทางไปรษณีย์ตอบรับ กรณีภายในประเทศถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบ ๗ วัน นับแต่วันส่ง กรณีต่างประเทศถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบ รบ ๑๕ วันนับแต่วันส่ง เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้รับ หรือ ได้รับก่อนหรือ หลังจากวันนั้น
ม.๗๒ ผู้รับเกิน ๕๐ คน เจ้าหน้าที่แจ้งให้ทราบตั้งแต่เริ่มดำเนินการในเรื่องนั้นว่าจะแจ้งโดยวิธีปิดประกาศไว้ ณ ที่ทำการ ของเจ้าหน้าที่และที่ว่าการอำเภอซึ่งเป็นภูมิลำเนาของผู้รับ ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้นสิบห้าวันนับแต่วันปิดประกาศ ม.๗๓ ไม่รู้ตัวผู้รับ/รู้ตัวไม่รู้ภูมิลำเนา หรือรู้ตัวและภูมิลำเนาแต่มีผู้รับเกิน 100 คน ประกาศในหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น ถือว่าได้รับแจ้ง เมื่อล่วงพ้นสิบห้าวันนับแต่วันประกาศในหนังสือพิมพ์
สรุปวิธีการแจ้งตามวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง การส่งให้แก่ผู้รับแจ้งโดยตรง (มาตรา ๖๙ วรรคสอง พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการฯ ๒๕๓๙) การประกาศทางหนังสือพิมพ์ มาตรา ๗๓ ประกาศ ณ ที่ทำการของเจ้าหน้าที่และที่ว่าการอำเภอ มาตรา ๗๒ การรับทราบคำสั่งมีผลทันที แม้ว่าจะเปิดอ่านภายหลัง ใช้กับกรณีมีผู้รับคำสั่ง ในเรื่องเดียวกันเกิน ๕๐ คนขึ้นไป กรณีมีผู้รับคำสั่งในเรื่องเดียวกันเกิน ๑๐๐ คน แต่ถ้าส่งทางไปรษณีย์ตอบรับตามมาตรา ๗๑ มีผลเมื่อครบ ๗ วัน นับแต่วันส่ง มีผลเมื่อพ้น ๑๕ วัน นับแต่วันประกาศในหนังสือพิมพ์ มีผลเมื่อล่วงพ้นระยะเวลา ๑๕วัน นับแต่วันประกาศ มีผลเมื่อล่วงพ้นระยะเวลา ๑๕วัน นับแต่วันประกาศ ผลของการแจ้งไม่ชอบด้วยกฎหมายเจ้าหน้าที่อาจมีความผิดฐานบุกรุก ตาม ปอ.
ระยะเวลา มาตรา ๖๔ กำหนดระยะเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปี มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย เว้นแต่จะได้เริ่มการในวันนั้นหรือมีการกำหนดไว้เป็นอย่างอื่นโดยเจ้าหน้าที่ กรณีที่เจ้าหน้าที่มีหน้าที่ต้องทำการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้นับวันสิ้นสุด ของระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วยแม้ว่าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดทำการงานสำหรับเจ้าหน้าที่ กรณีที่บุคคลใดต้องทำการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยกฎหมาย หรือโดยคำสั่งของเจ้าหน้าที่ ถ้าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดทำการงานสำหรับเจ้าหน้าที่ หรือวันหยุด ตามประเพณีของบุคคลผู้รับคำสั่ง ให้ถือว่าระยะเวลานั้นสิ้นสุดในวันทำงานที่ถัดจากวันหยุดนั้น เว้นแต่กฎหมายหรือเจ้าหน้าที่ที่มีคำสั่งจะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
พระราชบัญญัติวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ กับการจัดหาที่ดินเพื่อการชลประทาน พ.ร.บ.ว่าด้วยการเวนคืน อสังหาริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๐ พ.ร.บ. วิธีการปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ การแจ้งเป็นหนังสือ มาตรา ๘ มาตรา ๑๐ ทวิ วรรคสอง มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๕ - ๒๖ มาตรา ๒๘ – ๓๐ และมาตรา ๓๒ การแจ้งเป็นหนังสือ มาตรา ๖๙ - ๗๔ คณะกรรมการ มาตรา ๙ วรรคสอง มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๕ วรรคสอง คณะกรรมการ มาตรา ๗๕ – ๗๖ และ มาตรา ๗๙ - ๘๔
ในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง หรือขนย้ายทรัพย์สินอื่น มาตรา ๑๓ วรรคสาม การเรียกค่าใช้จ่าย ในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง หรือขนย้ายทรัพย์สินอื่น มาตรา ๑๓ วรรคสาม การเรียกค่าใช้จ่าย ในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง หรือขนย้ายทรัพย์สินอื่น มาตรา ๕๗
พ.ร.บ. วิธีการปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ มติ ครม. ๑๑ ก.ค. ๒๕๓๒ พ.ร.บ. วิธีการปฏิบัติราชการ ทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ คณะกรรมการ กำหนดองค์ประกอบคณะกรรมการ แต่มิได้วางหลักเกณฑ์การประชุม คณะกรรมการ มาตรา ๗๕ – ๗๖ และ มาตรา ๗๙ - ๘๔ มิได้วางหลักเกณฑ์การปฏิบัติ ราชการทางปกครอง คำสั่งทางปกครอง มาตรา ๑๒ และมาตรา ๓๔-๔๓
อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง มาตรา ๔๔-๔๘ มาตรการบังคับทางปกครอง มาตรา ๕๕-๖๓ อุทธรณ์มาตรการบังคับทางปกครอง มาตรา ๖๒ การแจ้งเป็นหนังสือ มาตรา ๖๙ - ๗๔