การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
Advertisements

ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลสุขภาพ Health Data Center: HDC เขตสุขภาพที่ 12
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปรายงานผลการนิเทศงานระดับจังหวัด รอบที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2561
HDC CVD Risk.
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
นโยบายและทิศทาง การดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
HDC Ncd PLus ธันวาคม 2560.
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
สถานการณ์โรคเรื้อรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สถานการณ์ วิกฤติ 7 ระดับ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
แนวทางการดำเนินงานงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บปีงบประมาณ 2552 โดย นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ 16 กันยายน 2551.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 วันอังคารที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุมประเมิน จันทวิมล อาคาร 1 ชั้น 1 กรมควบคุมโรค นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักโรคไม่ติดต่อ การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ประจำปีงบประมาณ 2561

วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ 2 เพื่อพิจารณา 2.1 ตัวชี้วัด 2.1.1 ตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประจำปี พ.ศ. 2561 (โดย นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล หน.กลุ่ม ยศ.) Promotion, Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 1. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี (โดย กลุ่ม ปอ.) 2. อัตราการเสียชีวิตจากกการบาดเจ็บทางถนน (โดย กลุ่ม ปจ.) 3. อัตราการผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (โดย กลุ่ม พร.) Service Excellence แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ (โดย กลุ่ม พร.) 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมิน โอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอด เลือด CVD Risk (โดย กลุ่ม รม.) การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ประจำปีงบประมาณ 2561

วาระการประชุม (ต่อ) 2.1.2 ตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2561 (สคร.ดำเนินการ) 1. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในระดับอำเภอ (D-RTI) (โดย ดร.ปัญณ์ จันทร์พานิช) 2. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ที่ขึ้นทะเบียน (โดย นางสาวณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง) 2.2 แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ประจำปี 2561 2.2.1 แนวทางการดำเนินงานสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ (BRFSS) (โดย ดร.กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล) 2.2.2 แผนการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจร (โดย ดร.ปัญณ์ จันทร์พานิช) 2.2.3 แผนการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากสาเหตุอื่นๆ(จมน้ำ, พลัดตกหกล้ม, การบาดเจ็บในเด็ก)(โดย นางสาวนิพา ศรีช้าง) 2.2.4 แผนการดำเนินงานการจัดการพัฒนาระบบงานโรคไม่ติดต่อ (โดย แพทย์หญิงสุมนี วัชรสินธุ์) 2.2.5 แผนการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (CVD, CKD, CBI NCD) (โดย นางสาวณัฐธิวรรณ พันธุ์มุง) ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) 3.1 โครงการลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในสถานประกอบการในพื้นที่นำร่อง (โดย นางศรีเพ็ญ สวัสดิมงคล) การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ ประจำปีงบประมาณ 2561

ตัวชี้วัดและเป้าหมายการลดโรค สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักโรคไม่ติดต่อ ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 5 ปี 2560 2561 2562 2563 2564 Promotion, Prevention & Protection Excellence แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 5.0 ≤ 4.5 ≤ 4.0 ≤ 3.5 ≤ 3.0 2. อัตราการเสียชีวิตจากกการบาดเจ็บทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อ ประชากรแสนคน ไม่เกิน 16 ต่อ ไม่เกิน 14 ต่อ ไม่เกิน 12 ต่อ ไม่เกิน 11 ต่อ 3. อัตราผู้ป่วย รายใหม่ -อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน - อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและ กลุ่มที่สงสัยป่วย ได้รับการวัดความดันที่บ้าน Home Blood Pressure Monitoring : HBPM DMรายใหม่ ≤ร้อยละ 2.4 - DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 10 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.4 HBPM ≥ ร้อยละ 20 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.28 HBPM ≥ ร้อยละ 30 DMรายใหม่ ≤ ร้อยละ 2.16 HBPM ≥ ร้อยละ 40 Service Excellence (บริการเป็นเลิศ) แผนงานที่ 6 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 1. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ DM ≥ 40% HT ≥ 50% DM ≥ 40% HT ≥ 50% 2. ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมิน โอกาสเสี่ยงต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด CVD Risk ≥ 80% ≥ 82.5% ≥ 85% ≥ 87.5% ≥ 90% 1 2

ระเบียบวาระที่ 2.1.1 ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประจำปี พ.ศ. 2561

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี คำนิยาม : เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี หมายถึง เด็กแรกเกิดถึงเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี การจมน้ำ : หมายถึง การจมน้ำที่เกิดจากอุบัติเหตุ (ICD-10 = W65-W74) ยกเว้นที่เกิดจากการใช้ยานพาหนะหรือการเดินทางทางน้ำ และภัยพิบัติ อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 < 5.0 (≤ 600 คน) < 4.5 (≤ 540 คน) < 4.0 (≤ 480 คน) < 3.5 (≤ 420 คน) < 3.0 (≤ 360 คน) สูตรคำนวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100,000 A = จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ B = จำนวนประชากรกลางปีของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี แหล่งข้อมูล : 1. รวบรวมข้อมูลการแจ้งตายจากฐานข้อมูลการตายทะเบียนราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทย โดยสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ 2. ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม

อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ต่อแสนประชากร) คำนิยาม : อุบัติเหตุทางถนน (รหัส ICD-10 = V01-V89) หมายถึง การตายจากการบาดเจ็บจราจรทางบก ไม่รวมทางน้ำ และทางอากาศ ผู้เสียชีวิต หมายถึง ผู้ที่เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ทั้งการเสียชีวิตที่จุดเกิดเหตุ ระหว่างนำส่งโรงพยาบาล ที่ห้องฉุกเฉิน ระหว่างส่งต่อ (Refer) กรณี Admitted เสียชีวิตในตึกผู้ป่วยภายใน 24 ชม. จนถึง 30 วันหลังเกิดเหตุ รวมถึงขอกลับไปตาย ที่บ้าน โดยใช้ฐานข้อมูลจาก สนย. กระทรวงสาธารณสุข อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (ต่อแสนประชากร) เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ไม่เกิน 18 ต่อ ประชากรแสนคน ไม่เกิน 16 ต่อ ไม่เกิน 14 ต่อ ไม่เกิน 12 ต่อ ไม่เกิน 11 ต่อ สูตรคำนวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100,000 A = จำนวนผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนทั้งหมด (V01-V89) B = จำนวนประชากรกลางปี แหล่งข้อมูล : จากกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ. ที่รวบรวมจากข้อมูลการตายฐานมรณบัตร ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นข้อมูลที่ยังไม่ผ่านการตรวจสอบ (verify) กับหนังสือรับรองการตายของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน สป.สธ.

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง 1. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน คำนิยาม : กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับ FBS 100 – 125 mg/dl ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ หมายถึง ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานรายใหม่ในปีงบประมาณ โดยการวินิจฉัยของแพทย์ และได้รับการขึ้นทะเบียนในคลินิกโรคเรื้อรัง อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ≤ ร้อยละ 2.40 ≤ ร้อยละ 2.28 ≤ ร้อยละ 2.16 สูตรคำนวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100 A: จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ และขึ้นทะเบียนในปีงบประมาณ B: จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานในปีงบประมาณที่ผ่านมา แหล่งข้อมูล : ใช้ฐานข้อมูล HDC ของ Data Center กระทรวงสาธารณสุข

อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน และความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง (ต่อ) 2.1 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2.2 อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยป่วย ได้รับการวัดความดันที่บ้าน Home Blood Pressure Monitoring : HBPM คำนิยาม : กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง (Pre-HT) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต 120-139/80-89 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ กลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีค่าระดับความดันโลหิต ≥140/90 mmHg ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ และรอการวินิจฉัยของแพทย์ การวัดความดันโลหิตที่บ้าน หมายถึง กลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจความดันโลหิตซ้ำอีกครั้งที่บ้าน โดย อสม. หรือด้วยตนเอง (กรณีวัดความดันโลหิตเป็น) ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน* หลังจากมารับบริการการคัดกรองที่โรงพยาบาลแล้ว ภายใน 6 เดือน อัตราประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตที่บ้าน เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 - HBPM ≥ ร้อยละ 10 HBPM ≥ ร้อยละ 20 HBPM ≥ ร้อยละ 30 HBPM ≥ ร้อยละ 40 สูตรคำนวณตัวชี้วัด : (C/D) x 100 C: จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ ได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน D: จำนวนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบทั้งหมด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและสงสัยป่วยความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณที่ผ่านมา แหล่งข้อมูล : ใช้ฐานข้อมูล HDC ของ Data Center กระทรวงสาธารณสุข

ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ คำนิยาม : ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ : หมายถึง ค่าระดับ HbA1c ครั้งสุดท้าย น้อยกว่า 7 mg% ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ผู้ป่วยเบาหวานที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ : หมายถึง ผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยด้วยรหัสโรค ICD10=E10-E14 และ Type area =1 และ 3 ระดับความดันโลหิตที่ควบคุมได้ตามเป้าหมาย : หมายถึง ค่าระดับความดันโลหิต 2 ครั้งสุดท้าย (SBP/DBP) น้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท. (ให้ใช้ข้อมูลจากแฟ้ม CHRONICFU) ในปีงบประมาณที่วิเคราะห์ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจะมีโรคเบาหวานร่วมด้วยหรือไม่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ หมายถึง ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยรหัส = I10 - I15 และ Type area = 1 และ 3 เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 DM ≥ 40% HT ≥ 50% เบาหวาน ≥ 40% ความดัน ≥ 50% สูตรคำนวณตัวชี้วัด : DM=(A/B) x 100 HT=(C/D) x 100 A = จำนวนผู้ป่วยDM ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ B = จำนวนผู้ป่วยDM ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ C = จำนวนผู้ป่วยHT ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดีตามเกณฑ์ที่กำหนด D = จำนวนผู้ป่วยHT ที่ลงทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ แหล่งข้อมูล : ใช้ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) คำนิยาม : ผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) : หมายถึง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน (E10 - E14) ความดันโลหิตสูง(I10 - I15) อายุ 35-60 ปี ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือด(CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียน ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) เป้าหมาย ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ≥ 80% ≥ 82.5% ≥ 85% ≥ 87.5% ≥ 90% สูตรคำนวณตัวชี้วัด : (A/B) x 100 A: จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน(E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปีข้างหน้า B: จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน(E10 - E14) ความดันโลหิตสูง (I10-I15) อายุ 35-60 ปี ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ แหล่งข้อมูล :ฐานข้อมูล HDC กระทรวงสาธารณสุข/โปรแกรมของสถานบริการสาธารณสุข