เรื่อง สารเสพติด จัดทำโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
Advertisements

หลักการตลาด บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค.
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
บ่อเกิดของความรู้ ความรู้ การหยั่งรู้ภายใน เหตุผล ประสบการณ์
พุทธศาสนาเถรวาท (Theravada Buddhism) Lord Buddha.
บทที่17 หลักการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
Integrity and Transparency Assessment Part 1 การประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ภาค1)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
( Organization Behaviors )
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
องค์ประกอบ 5 ประการ - สภาพแวดล้อม - ความเชื่อและค่านิยม
คณิตศาสตร์กับการแก้ปัญหา
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การสื่อสารความเสี่ยง
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
พื้นฐานการออกแบบ Graphic Design
การพยากรณ์โรค.
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
กรอบในการวิเคราะห์ ผลกระทบจากโครงการ พัฒนาของรัฐ.
3G โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
2.1 Spanning Tree Protocol
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
โครงการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ผู้ตรวจสอบภายในภาครัฐ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความมั่นคงด้านพลังงานและต้นทุนพลังงานนิวเคลียร์
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม Introduction to Public Relation for Environment อาจารย์น้ำทิพย์ คำแร่
จิตวิทยาการเรียนรู้.
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยา
(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)
การปรับฐานความคิดเป็นคนดีต่อต้านการทุจริต
สุนทรียศาสตร์พื้นฐาน
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
ทักษะที่จำเป็นสำหรับ การสร้างงานที่มีประสิทธิผล
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
วิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม
บทที่ 3 ปัจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์
พฤติกรรมการซื้อ Buyer Behavior
บทที่ 3 การวิเคราะห์ตลาดและคู่แข่งขัน
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
ทัศนูปกรณ์ 1) เลนส์นูน(Convex lens) มีคุณสมบัติรวมแสง
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพกับการวิจัยเชิงปริมาณ
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.
จิตวิทยาองค์การและพฤติกรรมบุคคลในองค์การ
กรอบแนวคิด “คุณภาพชีวิต” Conceptual Framework for “Quality of Life”
การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน และ
การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium
พฤติกรรมผู้บริโภค.
กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค
ความรู้และการจัดการความรู้
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
การวัดสายตา.
วิธีการศึกษากฎหมายกับสังคม
บทที่ 2 ปัจจัยที่จำเป็นต่อการพัฒนาหลักสูตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง สารเสพติด จัดทำโดย 1.เด็กหญิง จุฬารัตน์ รักแก้ว ห้อง ม.2/6 เลขที่ 20 2.เด็กหญิง เกสินี พิทยาประสาธน์กุล ห้อง ม.2/6 เลขที่ 19 3.เด็กชาย ศตพล น่วมนวล ห้อง ม.2/8 เลขที่ 18 4.เด็กชาย สิทธิกร เมืองแมน ห้อง ม.2/8 เลขที่ 21 5.เด็กชาย ดำลงพล เกื้อตะโก ห้อง ม.2/8 เลขที่ 22 6.เด็กชาย ศุภวิชญ์ พงษ์พันธ์ ห้อง ม.2/8 เลขที่ 20 7.เด็กชาย เพียรเพชร เพ็ชรสังกฤษ ห้อง ม.2/8 เลขที่ 17

ที่มาและความสำคัญ ในสังคมไทยในปัจจุบัน มีผู้ที่เข้าไปเกี่ยวกับสารเสพติดมากขึ้น ทั้งที่เป็น ผู้เสพและเป็นผู้ค้าสารเสพติด จึงทำให้เกิดปัญหาในด้านต่างๆ มากมายและเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก

จุดประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษา ประเภทของสารเสพติด สาเหตุ การทำให้เกิดสารเสพติดวีธีการรักษา การป้องกันการติดสารเสพติด 2. เพื่อเป็นแนวทางการป้องกัน หรือ เป็นวิธีการหลีกเลี่ยง ที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด

สมมุติฐาน คนที่ได้ศึกษาคงจะสามารถป้องกัน การติดสารเสพติดหรือ เกี่ยวข้องกับสารเสพติดได้มากกว่า คนที่ไม่ได้รับการศึกษาสารเสพติดจากกลุ่มสื่อค้น

วิธีดำเนินการศึกษา ศึกษาจากเว็บ จำนวน 9 เว็บไซต์ แล้วนำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างองค์ความรู้ ตามจุดประสงค์

ผลการศึกษา สารเสพติด คือ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ  ที่เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าโดยการรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ  แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ

1. ประเภทออกฤทธิ์กดประสาท ประเภทของสารเสพติด 1. ประเภทออกฤทธิ์กดประสาท ออกฤทธิ์กดประสาท (depressants) จะออกฤทธิ์กดประสาทสมอง ศูนย์ควบคุม การหายใจในสมอง และประสาทที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะบางอย่างของร่างกาย

2. ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ประเภทของสารเสพติด 2. ประเภทออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท (stimulants) ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาทสมองส่วนกลางโดยตรง และออกฤทธิ์กระตุ้นการเต้นของหัวใจและอารมณ์

3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ประเภทของสารเสพติด 3. ประเภทออกฤทธิ์หลอนประสาท ออกฤทธิ์หลอนประสาท (hallucinogens) ออกฤทธิ์ต่อประสาทสมอง ทำให้รับรู้ความรู้สึก (perception) ผิดไป เกิดอาการประสาทหลอน หรือแปลสิ่งเร้าผิด (illusion)

4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ประเภทของสารเสพติด 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน ออกฤทธิ์ผสมผสาน คือ ออกฤทธิ์ทั้งกดประสาท กระตุ้นประสาท และหลอนประสาท ได้แก่ กัญชา ใบกระท่อม ใช้น้อยๆ จะกระตุ้นประสาท ใช้มากขึ้นจะกดประสาท และถ้าใช้มากขึ้นอีกจะเกิดประสาทหลอน

สารเหตุการติดสารเสพติด 1) ยาและฤทธิ์ยา  ยาและฤทธิ์ยา ตามความหมายของสารเสพติด จะเห็นว่า สารเสพติดถ้าใช้ เป็นเวลานานๆ จะเกิดความเคยชิน โดยต้องการเพิ่มปริมาณมากขึ้น จะมีอาการ ขาดยาไม่ได้ ทั้งนี้สารเสพติดจะออกฤทธิ์ต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย จนทำให้ มีโอกาสติดสารเสพติดนั้น หรือทำลายร่างกายและสุขภาพได้

สารเหตุการติดสารเสพติด 2) ตัวผู้เสพ  2.1) ปัจจัยด้านร่างกาย จากสถานการณ์เจ็บป่วยทางร่างกาย และใช้ยา บำบัดรักษา 2.2) ปัจจัยทางด้านจิตใจ อารมณ์ และบุคลิกภาพ บุคคลที่มีบุคลิกภาพและอารมณ์แปรปรวน อารมณ์อ่อนไหว ขาดความมั่นใจใน ตนเอง สติปัญญาต่ำ ร่างกายอ่อนแอ ผู้ป่วยด้วยโรคจิตและโรคประสาท ตลอดจน พฤติกรรมเบี่ยงเบน

สารเหตุการติดสารเสพติด 3) สิ่งแวดล้อม  3.1) ปัจจัยด้านครอบครัว จากปัญหาครอบครัว เช่น การขาดความรักความอบอุ่น การเข้มงวด หรือละเลยจนเกินไป ความขัดแย้ง 3.2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากฐานะความยาก 3.3) ปัจจัยด้านสังคม เนื่องจากค่านิยมที่ผิดๆ ของตนเอง เช่น  การเป็นที่ยอมรับผูกมิตรกับกลุ่มเพื่อน หรือสังคม

การป้องกัน การติดสารเสพติด ป้องกันตัวเอง 1. ไม่ทดลองเสพสิ่งที่รู้ว่ามีภัย เพราะอาจจะทำให้ติดได้ง่าย  2. เลือกคบเพื่อนที่ดี พยายามหลีกเลี่ยงเพื่อนที่ชอบชักจูงไปในทางเสื่อมเสีย  3. รู้จักใช้วิจารณญาณในการแก้ปัญหา แต่หากว่าไม่สามารถแก้ไขเองได้ ก็ควรจะปรึกษากับพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ที่ไว้ใจได้  4. การสร้างทักษะชีวิต โดยเฉพาะทักษะการปฏิเสธเมื่อถูกเพื่อนชักชวนให้เสพสิ่งเสพติดต้องรู้จักปฏิเสธอย่างนุ่มนวล

การป้องกัน การติดสารเสพติด การป้องกันในครอบครัว  ผู้ที่ติดสิ่งเสพติดส่วนใหญ่จะเกิดจากครอบครัวที่แตกแยกมีปัญหา ขาดความรักความอบอุ่น เกิดความว้าเหว่ ขาดที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ซึ่งเป็นเหตุให้เด็กๆ หันไปพึ่งยาเสพติดแทน ดังนั้นพ่อแม่จึงควรให้ความรักความอบอุ่น และพ่อแม่ก็ควรจะประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และเป็นที่ปรึกษาให้แก่ลูกๆได้ ทำให้ลูกไม่หันไปพึ่งพายาเสพติด

การป้องกัน การติดสารเสพติด การป้องกันในโรงเรียน  ครูควรให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและอันตรายของสิ่งเสพติดให้กับนักเรียน จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการในโรงเรียนให้เพียงพอและสนับสนุนให้นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมนันทนาการต่างๆและสอนให้    เด็กรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

การป้องกัน การติดสารเสพติด การป้องกันชุมชน  1. การให้ความรู้ โดยการอบรมแก่ทุกคนในชุมชนให้เห้นโทษหรืออันตรายจากสิ่งเสพติด 2. เสริมกิจกรรมยามว่าง โดยการส่งเสริมอาชีพแก่ชุมชนยามว่าง เช่น การเย็บเสื้อผ้า การทำรองเท้า เป็นต้น 3. ตั้งศูนย์รับแจ้งเบาะแสเกี่ยวกับสิ่งเสพติด เมื่อพบว่ามีการซื้อขายหรือเสพสิ่งเสพติดภายในชุมชน      4. เข้าร่วมโครงการชุมชนปลอดสิ่งเสพติดต่างๆ ทั้งที่ทางราชการจัดขึ้น และชุมชนคิดริเริ่มขึ้นมาเอง

การป้องกัน การติดสารเสพติด รัฐบาล     1. การให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง     2. แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมอย่างจริงจัง และจัดสรรงบประมาณในการป้องกันและปราบปรามสิ่งเสพติด     3. จัดบุคลากรและหน่วยงานในการป้องกันและปราบปรามสิ่งเสพติดให้เพียงพอ และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง     4. การบังคับใช้กฏหมายอย่างจริงจัง บางครั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจบางคนที่ดูแลด้านสิ่งเสพติดก็ปล่อยปละละเลย หรือทำการค้าสิ่งเสพติดเสียเอง

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา   การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ เรื่องสารเสพติด ในประเทศไทย มีประเด็นที่ศึกษา ดังนี้ 1.ประเภทของสารเสพติด มี 4 ประเภท คือ กดประสาท หลอนประสาท กระตุ้นประสาท และออกฤทธิ์ประสมประสาน 2.สาเหตุการติดสารเสพติด การที่เราติดสารเสพติดนั้น จะมีหลายประการ ทั้งที่มาจากตัวเราและสิ่งแวดล้อม เช่น เราอาจมีความอยากรู้อยากลอง และอาจจะอยู่ในที่ที่มีสิ่งแวดล้อมไม่ดี 3.การป้องกันการติดสารเสพติด นั้นเราจะต้องเริ่มป้องกันจากตัวเราเอง เช่น ศึกษาหาความรู้ ไม่คิดอยากรู้อยากลอง แล้วเราจะต้องนำความรู้ที่ได้ศึกษาไปเผยแพร่ในชุมชนหรือสังคมที่ตนอาศัย เช่น ร่วมกันรณรงและจัดการให้ความรู้

สรุปและอภิปรายผลการศึกษา   ผู้ที่ได้รับการศึกษาจากกลุ่มค้นคว้า จะมีความรู้ เกี่ยวกับ สารเสพติด ทั้ง ประเภท สาเหตุ และการป้องกันการติดสารเสพติด มากกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษาจากกลุ่มค้นคว้า ผู้ที่ได้รับการศึกษาจะมีแนวทางการป้องกันได้ดีกว่าผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับสมติฐาน จากการศึกษาค้นคว้าจะทำให้มีผลดีต่อผู้ที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับสารเสพติด และผู้ที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดจะได้เลิกยุ่งกับสารเสพติด เพื่อความเจริญก้าวหน้าของตนเองและสังคม

ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา   1.รู้จักประเภทของสารเสพติด 2.รู้ถึงสาเหตุของการติดสารเสพติด 3.รู้ถึงโทษของสารเสพติด 4.รู้แนวทางการป้องกันสารเสพติด

เอกสารอ้างอิง http://th.wikipedia.org/wiki/สารเสพติด http://www.healthcarethai.com/ชนิดของยาหรือสารเสพติด/ http://www.sri.cmu.ac.th http://nctc.oncb.go.th/new/ http://trangis.com/kruuza/2_3.html https://sites.google.com/site/payhayasephtidnichumchn/ http://www.nmt.ac.th/product/web/1/d2.html https://sites.google.com/site/ http://trangis.com/kruuza/2_4.html#

ขอบคุณที่รับชม รับฟัง